แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ทบทวนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ มาตรการทำให้สังคมไทยไร้แร่ใยหิน

dc.contributor.authorสุรศักดิ์ บูรณตรีเวทย์th_TH
dc.contributor.authorSurasak Buranatrevedhen_US
dc.contributor.authorพรชัย สิทธิศรัณย์กุลth_TH
dc.contributor.authorPornchai Sithisarunkulen_US
dc.contributor.authorณรงค์ภณ ทุมวิภาตth_TH
dc.contributor.authorNarongpon Dumavibhaten_US
dc.contributor.authorเฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์th_TH
dc.contributor.authorChalermchai Chaikittipornen_US
dc.contributor.authorวันทนี พันธุ์ประสิทธิ์th_TH
dc.contributor.authorWantanee Phanprasiten_US
dc.contributor.authorสมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์th_TH
dc.contributor.authorSomkiat Siriruttanapruken_US
dc.contributor.authorชุลีกร ธนธิติกรth_TH
dc.contributor.authorChuleekorn Thanathitikornen_US
dc.date.accessioned2020-03-31T03:44:07Z
dc.date.available2020-03-31T03:44:07Z
dc.date.issued2563-03-31
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 14,1 (ม.ค. - มี.ค. 2563) : 9-18th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5185
dc.description.abstractแร่ใยหินทุกชนิดเป็นสารก่อมะเร็ง มีผลต่อสุขภาพทั้งคนงานที่ทำงานสัมผัสแร่ใยหินและประชาชนทั่วไป แม้จะมีมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 3 (พ.ศ. 2553) เรื่องมาตรการทำให้สังคมไทยไร้แร่ใยหิน และคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2554 เห็นชอบให้ดำเนินการตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ แต่ยังไม่สามารถทำให้สังคมไทยไร้แร่ใยหิน เนื่องจากหน่วยงานบางหน่วยงานไม่ปฏิบัติตามมติดังกล่าวและมีข้ออ้างเรื่องจำนวนผู้ป่วยโรคเหตุแร่ใยหินว่ามีจำนวนไม่มาก ไม่คุ้มกับการยกเลิกการใช้แร่ใยหิน ต่อมาพบข้อมูลจำนวนผู้ป่วยโรคเหตุแร่ใยหินและแนวทางการป้องกันการเกิดโรคเหตุแร่ใยหินเพิ่มเติม ทำให้ต้องมีการทบทวนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ในการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2562 มาตรการทำให้สังคมไทยไร้แร่ใยหินth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectสมัชชาสุขภาพแห่งชาติth_TH
dc.subjectAsbestosth_TH
dc.subjectแร่ใยหินth_TH
dc.titleทบทวนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ มาตรการทำให้สังคมไทยไร้แร่ใยหินth_TH
dc.title.alternativeRevision of National Health Assembly Resolution: Thailand ban asbestos measureen_US
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeEvery form of asbestos is carcinogenic. Workers and general population exposed to asbestos can suffer negative health effects. Although, the third National Health Assembly’s Resolution (2010) proposed asbestos ban measures and the cabinet on April 12, 2011 approved the resolution, asbestos is still in use in Thailand. Some government agencies have not followed the resolution arguing too few asbestos- related cases to reach cost-benefit of the asbestos ban. Recent data reveal the increased numbers of asbestos-related patients and new measures to reduce the risk of developing asbestos-related diseases. Therefore, it is necessary to revise the National Health Assembly Resolution at the twelfth National Health Assembly: Thailand’s asbestos ban measures.en_US
dc.subject.keywordNational Health Assemblyth_TH
.custom.citationสุรศักดิ์ บูรณตรีเวทย์, Surasak Buranatrevedh, พรชัย สิทธิศรัณย์กุล, Pornchai Sithisarunkul, ณรงค์ภณ ทุมวิภาต, Narongpon Dumavibhat, เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์, Chalermchai Chaikittiporn, วันทนี พันธุ์ประสิทธิ์, Wantanee Phanprasit, สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์, Somkiat Siriruttanapruk, ชุลีกร ธนธิติกร and Chuleekorn Thanathitikorn. "ทบทวนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ มาตรการทำให้สังคมไทยไร้แร่ใยหิน." 2563. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5185">http://hdl.handle.net/11228/5185</a>.
.custom.total_download997
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month6
.custom.downloaded_this_year66
.custom.downloaded_fiscal_year132

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v14n ...
ขนาด: 535.8Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย