แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การวิจัยเพื่อพัฒนาต้นแบบการบูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการพัฒนาเทคโนโลยีระบบดิจิทัลเพื่อการจัดบริการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในระบบปฐมภูมิในประเทศไทย

dc.contributor.authorปิยะ หาญวรวงศ์ชัยth_TH
dc.contributor.authorPiya Hanvoravongchaith_TH
dc.contributor.authorประพัฒน์ สุริยผลth_TH
dc.contributor.authorPrapat Suriyapholth_TH
dc.contributor.authorบุญชัย กิจสนาโยธินth_TH
dc.contributor.authorBoonchai Kijsanayotinth_TH
dc.contributor.authorกวิน สิริกวินth_TH
dc.contributor.authorKwin Sirikwinth_TH
dc.contributor.authorณัฐดนัย ไทยพิพัฒน์th_TH
dc.contributor.authorNatdanai Thaipipatth_TH
dc.date.accessioned2021-03-22T05:10:51Z
dc.date.available2021-03-22T05:10:51Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.otherhs2651
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5324
dc.description.abstractชุดโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาต้นแบบการบูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการพัฒนาเทคโนโลยีระบบดิจิทัลเพื่อการจัดบริการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในระบบปฐมภูมิในประเทศไทย วางแผนการดำเนินงาน 3 ปี สำหรับในปีแรก แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ศึกษาสถานการณ์และความต้องการเทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพสำหรับบริการผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และส่วนที่ 2 พัฒนารูปแบบการบูรณาการการจัดระบบสารสนเทศ มาตรฐานข้อมูลสุขภาพที่จำเป็นสำหรับบริการปฐมภูมิโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และทดลองการทำงานร่วมกันของระบบสารสนเทศดังกล่าวในห้องปฏิบัติการ นำสู่การทดลองการส่งต่อข้อมูลในพื้นที่จริง ระหว่างหน่วยบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลแม่ข่ายโดยเลือกกลุ่ม/พื้นที่บริการปฐมภูมิแบบเฉพาะเจาะจงที่มีประสบการณ์การจัดการ/การใช้ข้อมูลเครือข่ายระดับปฐมภูมิ การศึกษาความต้องการการใช้ข้อมูลและแนวคิดการทำงานด้านข้อมูลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจากกลุ่มต่างๆ ประกอบด้วย ทีมหมอครอบครัว แพทย์เวชศาสตร์คอรบครัว กลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วย ผู้กำหนดนโยบายและผู้ทำงานด้านเทคนิค พบว่าความต้องการการใช้ข้อมูลเหมือนกันในทุกกลุ่ม ได้แก่ ประวัติการป่วย/การรักษา ผลการตรวจ/คัดกรอง ผลทางห้องปฏิบัติการ/ผลตรวจรักษา ข้อมูลการตรวจรายบุคคล ข้อมูลยา และนำเสนอข้อมูลในลักษณะการวิเคราะห์เป็น Time series เพื่อสะท้อนพฤติกรรมและการจัดการสุขภาพ/โรครายบุคคลและระบบข้อมูลที่จำเป็น คือ ระบบการส่งต่อ/ส่งกลับระหว่างสถานพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลแม่ข่าย ซึ่งจำเป็นต่อการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องระยะยาว การพัฒนาระบบสารสนเทศได้พัฒนารูปแบบการบูรณาการและการจัดระบบสารสนเทศบริการสุขภาพในเครือข่ายบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลกำแพงเพชร และหน่วยบริการปฐมภูมิเขตเมืองของโรงพยาบาลโดยดำเนินการตามมาตรฐาน HL7 FHIR และกำหนดมาตรฐานการแลกเปลี่ยน เพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยงานได้ เพื่อให้การทำงานร่วมกันได้ รู้ถึง “ความหมาย” ของข้อมูลที่จะแลกเปลี่ยนและนำข้อมูลไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งผู้ให้บริการสามารถเข้าถึงข้อมูลจากหลายหน่วยบริการ และสามารถให้การดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ผู้ป่วย/ผู้รับบริการมีข้อมูลสำหรับดูแลสุขภาพตนเอง และมีความรู้ สามารถมีคุณภาพชีวิตได้ตามความเหมาะสมth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectเบาหวานth_TH
dc.subjectความดันโลหิตสูงth_TH
dc.subjectบริการทางการแพทย์th_TH
dc.subjectสารสนเทศทางการแพทย์th_TH
dc.subjectบริการปฐมภูมิ (การแพทย์)th_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.titleการวิจัยเพื่อพัฒนาต้นแบบการบูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการพัฒนาเทคโนโลยีระบบดิจิทัลเพื่อการจัดบริการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในระบบปฐมภูมิในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeModel Development for Integrated Health Information Technology and Digital Transformation of Diabetes and Hypertension Services in Primary Health Care System in Thailandth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeA series of research projects to develop a model of the information technology system to provide a service of diabetes and hypertension in the primary healthcare system in Thailand has an operational plan for 3 years. In this first year, the study is divided into 2 parts. The first is studying the situation and the need for health information to provide a service for diabetes and hypertension patients/risk groups. Another is developing a model of the information technology system by using standard health information and connecting such information between primary care units and community hospitals in a specific area where there is good data management. The team studied the need for the information on diabetes and hypertension from different groups namely family physicians, patients/risk groups, policy makers and technical officers, and found that they all required the same kind of information including medical records, a display in the form of a time series to reflect and analyze the patients’ behaviors, as well as an effective data transmission system between primary care units and community hospitals which is essential to long-term care and treatment. The team also developed the information technology system model to provide a health service in Kamphaeng Phet Hospital and its primary care units using HL7 FHIR. The program was used to set a standard of data for the users to be able to exchange and access the patients’ information while the patients can also reach their own health records from different places.th_TH
dc.identifier.callnoW26.5 ป621ก 2564
dc.identifier.contactno62-083
.custom.citationปิยะ หาญวรวงศ์ชัย, Piya Hanvoravongchai, ประพัฒน์ สุริยผล, Prapat Suriyaphol, บุญชัย กิจสนาโยธิน, Boonchai Kijsanayotin, กวิน สิริกวิน, Kwin Sirikwin, ณัฐดนัย ไทยพิพัฒน์ and Natdanai Thaipipat. "การวิจัยเพื่อพัฒนาต้นแบบการบูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการพัฒนาเทคโนโลยีระบบดิจิทัลเพื่อการจัดบริการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในระบบปฐมภูมิในประเทศไทย." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5324">http://hdl.handle.net/11228/5324</a>.
.custom.total_download192
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month6
.custom.downloaded_this_year16
.custom.downloaded_fiscal_year36

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2651.pdf
ขนาด: 2.223Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย