Show simple item record

Research Program under Inclusive Society Research Excellence Centre (ISREC)

dc.contributor.authorลือชัย ศรีเงินยวงth_TH
dc.contributor.authorLuechai Sringernyuangth_TH
dc.contributor.authorปกรณ์ สิงห์สุริยาth_TH
dc.contributor.authorPagorn Singsuriyath_TH
dc.contributor.authorปิยณัฐ ประถมวงษ์th_TH
dc.contributor.authorPiyanat Prathomwongth_TH
dc.contributor.authorสายสุดา วงษ์จินดาth_TH
dc.contributor.authorSaisuda Vongjindath_TH
dc.contributor.authorชุติมา พัฒนพงศ์th_TH
dc.contributor.authorChutima Pattanapongth_TH
dc.contributor.authorวาศินี กลิ่นสมเชื้อth_TH
dc.contributor.authorVasinee Klinsomchuath_TH
dc.date.accessioned2022-08-05T06:22:23Z
dc.date.available2022-08-05T06:22:23Z
dc.date.issued2565-07
dc.identifier.otherhs2843
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5695
dc.description.abstractโครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ปัญหา สาเหตุและแนวทางการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงสังคม ที่มีเป้าหมายในการสร้างสังคมแห่งการเกื้อกูล ไม่ทอดทิ้งกัน โดยผ่านชุดการวิจัยเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมาย พื้นที่ หรือประเด็นต่างๆ โดยเป็นการสร้างงานวิชาการที่มีคุณภาพ สามารถนำผลที่ได้ไปสู่การปฏิบัติแก้ไขปัญหากลุ่มคนเปราะบางและพัฒนาระบบสุขภาพที่มีประสิทธิภาพตอบสนองต่อคนทุกคนได้ และเพื่อพัฒนาศักยภาพนักวิจัยและคนทำงานกลุ่มประชากรชายขอบที่ซับซ้อน เข้าถึงยาก โดยผ่านการพัฒนาองค์ความรู้ด้านวิธีวิทยา การฝึกอบรมแนวใหม่ที่เน้นการปฏิบัติการในพื้นที่จริงและการเชื่อมต่อ แสวงหาความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่าย ทั้งจากสถาบันอุดมศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ องค์กรภาคประชาชน หน่วยงานรัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม โดยพัฒนาระบบบริหารศูนย์ความเป็นเลิศฯ ให้เป็นแกนกลางในการทำงานวิชาการเพื่อกลุ่มคนเปราะบางและเป็นศูนย์ที่เผยแพร่ข้อมูลต่างๆ โดยสร้างพื้นที่การสื่อสารสาธารณะเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยเพื่อกลุ่มคนเปราะบางที่นำไปสู่การปฏิบัติได้ มุ่งสู่การเกิดสังคมไม่ทอดทิ้งกันในระดับต่างๆ ทั้งระดับนโยบายและพื้นที่ ผลการดำเนินงานพบว่า การทบทวนความรู้เรื่องครอบครัวเพื่อการเป็นฐานข้อมูล องค์ความรู้และเข้าใจสภาวะครอบครัวในบริบทสังคมไทยที่กำลังเผชิญ การศึกษาดังกล่าวจะนำไปสู่การมองเห็น “ครอบครัว” ในมิติและบริบทที่รอบด้าน เพื่อรองรับการขับเคลื่อนการแก้ปัญหาสถานการณ์ความเปราะบางของสังคมได้และการทำความเข้าใจประเด็นเทคโนโลยีในโลกอนาคต จะมีความเชื่อมโยงกับมนุษย์ในแง่ของสิทธิ ความเป็นธรรมที่จะเกิดขึ้นแตกต่างกันของผู้คนหลายระดับ ในขณะที่การศึกษาเรื่องการเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางต่างๆ ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ เป็นการศึกษาทั้งองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับความความซับซ้อนของปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคมและเกี่ยวโยงมิติต่างๆ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ทำให้พบว่าการเข้าไม่ถึงบริการสาธารณสุขเป็นปัจจัยสำคัญที่ต้องได้รับการแก้ปัญหาในระบบกลไกทั้งในระบบและนอกระบบ การวิจัยนี้จึงมีบทสรุปและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสำคัญ คือ 1) ควรพัฒนางานในมิติการพัฒนาองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับความซับซ้อนของปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม ทั้งในแง่สถานการณ์ เหตุปัจจัยและเงื่อนไขเชิงบริบท ในมิติและระดับต่างๆ และทางออกทั้งในระดับปฏิบัติการและระดับโครงสร้างหรือนโยบาย 2) การพัฒนาศักยภาพคนทำงานเป็นสิ่งสำคัญ เพราะเป็นทางออกที่นำไปสู่การพัฒนาคนในกลไกของการทำงานทั้งในระบบและนอกระบบ พร้อมขับเคลื่อนการทำงาน ที่มีความยากและซับซ้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) ควรสร้างพื้นที่ต้นแบบเพื่อปฏิบัติการแก้ปัญหาเฉพาะต่างๆ โดยอาศัยองค์ความรู้ที่พัฒนาขึ้น และการเชื่อมโยงเครือข่ายทุกระดับจากนโยบายสู่ชุมชน ซึ่งจะนำไปสู่การขับเคลื่อนเพื่อการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectVulnerable Populationsth_TH
dc.subjectEqualityth_TH
dc.subjectความเท่าเทียมth_TH
dc.subjectEquality--Health Aspectsth_TH
dc.subjectHealth--Social Aspectsth_TH
dc.subjectHealth Equityth_TH
dc.subjectSocial Justiceth_TH
dc.subjectความยุติธรรมทางสังคมth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectระบบสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Systemsth_TH
dc.subjectHealth--Managementth_TH
dc.subjectการจัดการด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleแผนดำเนินงานวิจัยภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยและขับเคลื่อนนโยบายสังคมไม่ทอดทิ้งกันth_TH
dc.title.alternativeResearch Program under Inclusive Society Research Excellence Centre (ISREC)th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to develop the knowledge about problem situations, causes and guidelines for driving social change. at the goal of creating a supportive society do not abandon each other through a series of research on target groups, areas or issues by creating quality academic work can bring the results into action to solve the problems of vulnerable groups and develop an effective health system that responds to all people and to develop the potential of researchers and people working in complex and difficult-to-reach marginalized populations through the development of methodological knowledge A new kind of training focused on real-world operations. and connection Seek cooperation between partners, networks, both from higher education institutions in the country. and abroad Public organizations, government agencies, NGOs Driving social change by developing a management system for the Center of Excellence to be the center of academic work for vulnerable groups and is a center for disseminating various information by creating a public communication space to drive policy and research strategies for vulnerable groups that can be put into action. aiming to create a society that does not leave each other at various levels, both at the policy level and the area The results showed that Reviewing family knowledge for a database Knowledge and understanding of family conditions in the context of Thai society that are facing It is such a study that will lead to seeing the "family" in the dimensions and surrounding context. To support the drive to solve the problem of social vulnerability situation. and understanding technology issues in the future world There will be a connection with human beings in terms of rights. The fairness that will occur is different for many levels of people. While the study of access to health systems among vulnerable populations both children and adults It is a study of both the body of knowledge about the complexity of the problem of social inequality and related dimensions in economic, social and political aspects. It has been found that inaccessibility of public health services is an important factor that must be addressed in the mechanism of both in the system and outside the system The research hence contains summary and policy proposals, 1) Work should be developed in the dimension of knowledge development concerning the complexity of social inequality problems. both in terms of situations Causative factors and contextual conditions in various dimensions and levels, and solutions at both the operational level and the structural or policy level. 2) Developing the potential of workers is important Because it is a solution that leads to the development of people in the mechanism of work both in the system and outside. Ready to drive work that is difficult and complex effectively 3) Should create a prototype area to perform specific problems. Based on the knowledge developed and networking at all levels from policy to community which will lead to driving for change in the future.th_TH
dc.identifier.callnoHB886 ล517ผ 2565
dc.identifier.contactno63-036
dc.subject.keywordInclusive Society Research Excellence Centreth_TH
dc.subject.keywordISRECth_TH
dc.subject.keywordประชากรชายขอบth_TH
dc.subject.keywordประชากรกลุ่มเฉพาะth_TH
dc.subject.keywordประชากรกลุ่มเปราะบางth_TH
dc.subject.keywordความเหลื่อมล้ำทางสังคมth_TH
.custom.citationลือชัย ศรีเงินยวง, Luechai Sringernyuang, ปกรณ์ สิงห์สุริยา, Pagorn Singsuriya, ปิยณัฐ ประถมวงษ์, Piyanat Prathomwong, สายสุดา วงษ์จินดา, Saisuda Vongjinda, ชุติมา พัฒนพงศ์, Chutima Pattanapong, วาศินี กลิ่นสมเชื้อ and Vasinee Klinsomchua. "แผนดำเนินงานวิจัยภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยและขับเคลื่อนนโยบายสังคมไม่ทอดทิ้งกัน." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5695">http://hdl.handle.net/11228/5695</a>.
.custom.total_download36
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month4
.custom.downloaded_this_year8
.custom.downloaded_fiscal_year10

Fulltext
Icon
Name: hs2843.pdf
Size: 2.505Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record