Show simple item record

The Roles of Provincial Public Health Office and District Public Health Office after Devolution of Sub-District Health Promotion Hospital to Provincial Administrative Organization

dc.contributor.authorรุ่งนภา จันทราth_TH
dc.contributor.authorRungnapa Chantrath_TH
dc.contributor.authorทัศนีย์ เกริกกุลธรth_TH
dc.contributor.authorTassanee Krirkgulthornth_TH
dc.contributor.authorธัญพร ชื่นกลิ่นth_TH
dc.contributor.authorThunyaporn Chuenktinth_TH
dc.contributor.authorสุชาดา นิ้มวัฒนากุลth_TH
dc.contributor.authorSuchada Nimwatanakulth_TH
dc.contributor.authorอติญาณ์ ศรเกษตรินth_TH
dc.contributor.authorAtiya Sarakshetrinth_TH
dc.contributor.authorรวิวรรณ คำเงินth_TH
dc.contributor.authorRawiwan Khamngoenth_TH
dc.contributor.authorบุญประจักษ์ จันทร์วินth_TH
dc.contributor.authorBoonprajuk Junwinth_TH
dc.date.accessioned2023-11-28T07:47:20Z
dc.date.available2023-11-28T07:47:20Z
dc.date.issued2566-09
dc.identifier.otherhs3049
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5977
dc.description.abstractการถ่ายโอนภารกิจของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ส่งผลกระทบต่อบทบาทหน้าที่ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ (สสอ.) การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบของบทบาทที่พึงประสงค์ของ สสจ. และ สสอ. ที่มีการถ่ายโอน รพ.สต. ไป อบจ. รวมทั้ง การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบาย ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสาน รวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างและแนวทางการสนทนา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุขผู้มีอำนาจในการจัดการด้านนโยบายสาธารณสุขจังหวัด นายอำเภอ สาธารณสุขอำเภอและผู้ที่ปฏิบัติงาน ณ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอในพื้นที่ 8 จังหวัดที่เป็นตัวแทนแต่ละภาค รวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา สังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายจากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ และประชุมสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ ผลการศึกษา พบว่า บทบาทของทั้งสองส่วนราชการมีการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ในขอบเขตรับผิดชอบเหมือนเดิม แต่ต้องปรับบทบาทและรูปแบบวิธีการปฏิบัติงานใหม่เพื่อแก้ปัญหาจากผลกระทบของการถ่ายโอน 1) ระยะเปลี่ยนผ่านสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดดำเนินการตามบทบาทหน้าที่เดิมและดำเนินการตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 รวมทั้งเป็นพี่เลี้ยงของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ เพื่อเตรียมความพร้อมและส่งเสริมสมรรถนะของ สสอ. เพื่อเป็นสำนักวิชาการ ส่วน สสอ. ต้องมีการปรับบทบาทหน้าที่ ทั้งนี้ต้องมีการปรับบทบาทหน้าที่ที่กำหนดในกฎกระทรวง และ 2) ระยะถ่ายโอนสมบูรณ์ สสจ. มีอำนาจหน้าที่เดิม ตามกฎกระทรวง รวมทั้งควรมีการปรับเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนบทบาทของสสอ. ที่จะยกระดับเป็นสำนักวิชาการและเป็นผู้ประเมินในการประเมินมาตรฐานคุณภาพบริการสุขภาพปฐมภูมิของทุกภาคส่วนและการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค ทั้งนี้สำนักงานสาธารณสุขอำเภอต้องยกระดับบทบาทหน้าที่เป็นสำนักวิชาการและพัฒนาสมรรถนะการให้คำปรึกษาและให้ข้อมูลสารสนเทศเชิงประจักษ์ มุ่งเน้นการเป็นผู้ประเมินมาตรฐานคุณภาพบริการระดับปฐมภูมิของทุกภาคส่วนในเขตพื้นที่อำเภอและพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลth_TH
dc.subjectสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPublic Health Administrationth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleบทบาทของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ภายหลังการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปองค์การบริหารส่วนจังหวัดth_TH
dc.title.alternativeThe Roles of Provincial Public Health Office and District Public Health Office after Devolution of Sub-District Health Promotion Hospital to Provincial Administrative Organizationth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThe devolution of sub- district health promotion hospital to provincial administrative organization effect to the roles of provincial public health office and district public health office. This study aimed to investigate the roles of provincial public health office and district public health office after devolution of sub- district health promotion hospital to provincial administrative organization and synthesize policy suggestions. Mixed methods were used. The Qualitative data were gathered using semi-structured interviews and focus group. The participants, from 8 provinces representative of each region, involved the experts, administrators of Ministry of Public Health, policy makers, chiefs of provincial public health office, district public health executives, district chiefs, and district public health officers. The quantitative data were collected using questionnaire. The data were analyzed with descriptive statistics. Policy suggestions were synthesized from the analysis of qualitative and quantitative data, and connoisseurship. The findings showed that the roles of both offices were the same as before with some new operations in order to solve the problems consequence the devolution: 1) transition phase; the provincial public health office operated as the prior roles and followed Primary Health System Act, 2019, and been the preceptor of district public health office for preparing the readiness and promoting the officers’ competencies of district public health offices to be the academic offices; however. The roles of district public health office should be modified by the ministerial regulations. 2) devolution complete phase; the provincial public health office operated as the prior roles with some modifies roles according to the modified roles of the district public health office. These modified roles involved upgrading the district public health office to be the academic office and enhancing the competency of officers to be the consultants and the evidence-based information providers, being regulators to evaluate the quality of primary care services of all sectors in the area of their district, and improving health consumer protection system.th_TH
dc.identifier.callnoWA540.JT3 ร623บ 2566
dc.identifier.contactno66-106
dc.subject.keywordHealth Decentralizeth_TH
dc.subject.keywordHealth Decentralizationth_TH
dc.subject.keywordการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subject.keywordอบจ.th_TH
dc.subject.keywordรพ.สต.th_TH
dc.subject.keywordสสจ.th_TH
dc.subject.keywordสสอ.th_TH
.custom.citationรุ่งนภา จันทรา, Rungnapa Chantra, ทัศนีย์ เกริกกุลธร, Tassanee Krirkgulthorn, ธัญพร ชื่นกลิ่น, Thunyaporn Chuenktin, สุชาดา นิ้มวัฒนากุล, Suchada Nimwatanakul, อติญาณ์ ศรเกษตริน, Atiya Sarakshetrin, รวิวรรณ คำเงิน, Rawiwan Khamngoen, บุญประจักษ์ จันทร์วิน and Boonprajuk Junwin. "บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ภายหลังการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปองค์การบริหารส่วนจังหวัด." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5977">http://hdl.handle.net/11228/5977</a>.
.custom.total_download398
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month8
.custom.downloaded_this_year319
.custom.downloaded_fiscal_year398
.custom.is_recommendedtrue

Fulltext
Icon
Name: hs3049.pdf
Size: 1.129Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record