แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การปรับวิถีชีวิตในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน

dc.contributor.authorวิโรจน์ เจียมจรัสรังษีen_US
dc.contributor.authorWiroj Jiamjarasrungsien_US
dc.contributor.authorวิฑูรย์ โล่ห์สุนทรen_US
dc.contributor.authorVitoon Lohsuntornen_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2008-11-06T02:58:45Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:57:02Z
dc.date.available2008-11-06T02:58:45Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:57:02Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,3 (ก.ค.-ก.ย. 2551) : 464-476en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/703en_US
dc.description.abstractปัจจุบันมีหลักฐานเพิ่มขึ้นจากการศึกษาควบคุมแบบสุ่ม ที่แสดงว่าโปรแกรมการปรับพฤติกรรมแบบเข้มสามารถป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคเบาหวานในผู้ที่มีความเสี่ยงสูง อย่างไรก็ตาม โปรแกรมปรับพฤติกรรมนี้จะมีประโยชน์จริงในเวชปฏิบัติประจำวันก็ต่อเมื่อสามารถนำผลการศึกษาไปประยุกต์ใช้ได้กว้างในสภาพการณ์ต่างๆ รวมทั้งวิธีการต้องปฏิบัติได้จริงและไม่แพง เมื่อนำไปดำเนินการในสถานบริการสุขภาพแบบต่างๆ บทปริทัศน์นี้เป็นการนำเสนอแง่มุมบางประการที่รวบรวมเกี่ยวกับโปรแกรมการปรับพฤติกรรมแบบเข้มสำหรับกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน เนื้อหาประกอบด้วยหลักฐานทางวิทยาการระบาดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านพฤติกรรมกับความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ผลทางเวชกรรมและความคุ้มค่าของโปรแกรมการปรับพฤติกรรมแบบเข้มและปัจจัยที่ทำนายความสำเร็จของโปรแกรม ท้ายที่สุดบทความนี้ได้นำเสนอรายละเอียดบางประการของโปรแกรมตัวอย่าง 3 โปรแกรม : The Da Qing IGT and Diabetes study ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน The Diabetes Prevention Study (DPS) ในประเทศฟินแลนด์ และ The Diabetes Prevention Program (DPP) และ Look AHEAD Study ในประเทศสหรัฐอเมริกา ข้อมูลเหล่านี้อาจนำไปใช้ประกอบในการพัฒนาโปรแกรมการปรับพฤติกรรมแบบเข้มที่ปฏิบัติได้จริงเพื่อป้องกันโรคเบาหวานในประเทศไทยth_TH
dc.format.extent248211 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการปรับวิถีชีวิตในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานen_US
dc.title.alternativeLifestyle Modification in a Group at High Risk for DiabetesLifestyle Modification in a Group at High Risk for Diabetesen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeAccumulating evidence from randomized controlled trials have shown that diabetes mellitus can be prevented or delayed in high-risk individuals by an intensive lifestyle modification program. However, to be meaningful for clinical practice in the real world, the results need to be both widely generalizable and the methods practical and affordable enough to implement in a wide variety of health-care settings. This review described some aspects of the intensive lifestyle modification program in groups at high risk for diabetes. Topics included epidemiologic evidence about the relationship between lifestyle factors and diabetes risk, clinical outcomes and cost-effectiveness of the intensive lifestyle modification program, and predicting factors for its success. Some details of the three example programs, including the Chinese Da Qing IGT and Diabetes Study, the Finnish Diabetes Prevention Study (DPS), the US Diabetes Prevention Program (DPP) and Look AHEAD Study, were described. The information provided could be utilized in the development of practical lifestyle interventions for diabetes prevention in Thailand.en_US
dc.subject.keywordโปรแกรมการปรับพฤติกรรมแบบเข้มen_US
dc.subject.keywordโรคเบาหวานen_US
dc.subject.keywordการปรับวิถึชีวิตen_US
dc.subject.keywordDiabetes High-risk Groupen_US
.custom.citationวิโรจน์ เจียมจรัสรังษี, Wiroj Jiamjarasrungsi, วิฑูรย์ โล่ห์สุนทร and Vitoon Lohsuntorn. "การปรับวิถีชีวิตในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/703">http://hdl.handle.net/11228/703</a>.
.custom.total_download2248
.custom.downloaded_today5
.custom.downloaded_this_month55
.custom.downloaded_this_year171
.custom.downloaded_fiscal_year337

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n3 ...
ขนาด: 246.6Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1326]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย