Now showing items 1209-1228 of 2309

    • การสังเคราะห์องค์ความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการเรียนรู้และการปรับตัวในการแก้ไขปัญหาเอดส์ของชุมชนในจังหวัดเชียงราย : บทเรียนและประสบการณ์การแก้ปัญหาเอดส์ของภาคเหนือตอนบน 

      ยิ่งยง เทาประเสริฐ; Yingyong Taoprasert; สวรินทร์ สินสมบูรณ์; ปรีชา แก้วคำปา; กนกพร เดชะ; จิตมณี ก้างออนตา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      การสังเคราะห์องค์ความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการเรียนรู้และการปรับตัวในการแก้ไขปัญหาเอดส์ของชุมชนในจังหวัดเชียงราย: บทเรียนและประสบการณ์การแก้ไขปัญหาเอดส์ของชุมชนในจังหวัดเชียงราย การศึกษานี้เพื่อสังเคราะห์ประสบการณ์การ ...
    • การสังเคราะห์แนวทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพฉุกเฉินจากแนวคิดของพยาบาลประจำห้องฉุกเฉิน และผู้ปฏิบัติงานกู้ภัยและกู้ชีพ 

      สมชาย กาญจนสุต; Somchai Kanchanasut; อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์; วัลลภ จิระศิริวัฒน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระดมความคิดเห็นในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานเวชศาสตร์ฉุกเฉินจากผู้ปฏิบัติงานกู้ภัยและกู้ชีพ และเพื่อนำเสนอแนวทางการปฏิรูประบบการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทยในอนาคต ...
    • การสังเคราะห์แผนงานสุขภาพจังหวัดสงขลา ระยะที่ 1 

      นวลตา อาภาคัพภะกุล (สถาบันวิจัยระบบสุขภาพ ภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2552)
      การดำเนินงานแผนสุขภาพจังหวัดสงขลา เป็นอีกประเด็นหนึ่งที่ได้รับความสนใจจากหลายๆ องค์กร แผนสุขภาพจังหวัดสงขลา นับว่าเป็นต้นแบบหนึ่งของการร่วมมือกันทั้งภาครัฐ ภาคประชาสังคมและภาควิชาการที่ค่อนข้างชัดเจน การก่อเกิดของแผนงานส ...
    • การสังเคราะห์โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ระยะที่ 1 

      นวลตา อาภาคัพภะกุล (สถาบันวิจัยระบบสุขภาพ ภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2552)
      โครงการคุ้มครองผู้บริโภคนี้ มุ่งเน้น 1. เพื่อเสริมสร้างกระบวนการพิทักษ์สิทธิผู้บริโภคในพื้นที่ภาคใต้ โดยส่งเสริมให้เกิดการรวมตัวเป็นกลุ่มองค์กรและเครือข่ายผู้บริโภคและการสนับสนุนให้มีการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคกลุ่มและองค์ก ...
    • การสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ปี พ.ศ.2535 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; สุกัลยา คงสวัสดิ์; นวลอนันต์ ตันติเกตุ; ศศิเพ็ญ โมไนยกูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      การสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ปีพศ.2535 การสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ได้ใช้กรอบตัวอย่างโรงพยาบาลและสถานพยาบาลที่มีเตียงจำนวนทั้งสิ้น 320 แห่ง จากกองการประกอบโรคศิลปะในช่วงต้นปีงบประมาณ พศ. 2535 โดยทอดแบบสอบถาม ...
    • การสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย 

      วราภรณ์ เสถียรนพเก้า; วิชัย เอกพลากร; รัชดา เกษมทรัพย์; หทัยชนก พรรคเจริญ (สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย, 2554-06)
      การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 ปี พ.ศ. 2551-2 นี้ ดำเนินการโดย สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข นับเป็นครั้งแรกที่ได้มีการผนวกการสำรวจ การบริโภคอาหารของประชาชนไทย ไว้ในการสำรวจสุขภาพฯ ...
    • การสำรวจการเข้าถึงสถานพยาบาลและรายจ่ายด้านสุขภาพของผู้ป่วยที่เสียชีวิต พ.ศ. 2548-2549 

      ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท; อรศรี ฮินท่าไม้; อาทิตยา เทียมไพรวัลย์; Viroj Tangcharoensathien; Phusit Prakongsai; Chitpranee Vasavid; Onsri Hinthamai; Artitaya Tiampriwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การสำรวจครั้งนี้เป็นการศึกษาการเข้าถึงบริการสาธารณสุข อัตราและแบบแผนการใช้บริการ และภาระค่าใช้จ่ายของครัวเรือนทั้งค่ารักษาพยาบาล ค่าเดินทาง ค่าที่พัก และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ของผู้เสียชีวิต โดยใช้แบบสอบถามเพิ่มเติมนอกเหนือจา ...
    • การสำรวจการเจ็บป่วยและการใช้บริการทางการแพทย์ของข้าราชการ, ข้าราชการบำนาญ และบุคคลในครอบครัว ในสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ พ.ศ. 2538 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangchroensathien; นวลอนันต์ ตันติเกตุ; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      การสำรวจการเจ็บป่วยและการใช้บริการทางการแพทย์ของข้าราชการ, ข้าราชการบำนาญ และบุคคลในครอบครัวในสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ พ.ศ. 2538 การสำรวจภาวะการเจ็บป่วยของข้าราชการ, ลูกจ้างประจำ, ข้าราชการบำนาญ และบุคคลในครอบครัวใ ...
    • การสำรวจข้อมูลการพัฒนาบริการปฐมภูมิของหน่วยบริการคู่สัญญา 

      สุพัตรา บุญญานุภาพพงศ์; ชยภรณ์ ดีเอม (แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2552-11)
      บริการปฐมภูมิเป็นบริการด่านแรกที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้สะดวก มีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนอย่างต่อเนื่องทุกกลุ่มอายุ การที่หน่วยบริการปฐมภูมิจะทำหน้าที่ตามบทบาทได้อย่างสมบูรณ์นั้น จำเป็นต้องได้รับการเชื่อมโยงและสนับส ...
    • การสำรวจครัวเรือนที่ประสบภัยในพื้นที่น้ำท่วม ช่วงเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2554 

      กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ร่วมมือกับสำนักงานนโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (Thailand health policy program : IHPP) และภาคี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน และ World health organization) ในการสำรวจครัวเรือนที่ปร ...
    • การสำรวจความครอบคลุมของการรับวัคซีนพื้นฐานและวัคซีน Covid-19 ในกลุ่มเด็กข้ามชาติ อายุไม่เกิน 12 ปี ในพื้นที่เศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC): ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา 

      เตือนใจ นุชเทียน; Tuenjai Nuchtean; สุทัศน์ โชตนะพันธ์; Suthat Chottanapund; วาสินี ชลิศราพงศ์; Wasinee Chalisarapong; ภัสราภรณ์ นาสา; Patsaraporn Nasa; วนิดา สังยาหยา; Wanida Sangyaya; แพรวนภา พันธ์โสรี; Praewnapha Pansoree; แสนสุข เจริญกุล; Sansuk Charoenkun; พนิดา ทองหนูนุ้ย; Panida Thongnunuy; ชุลีกร ธนธิติกร; Chuleekorn Tanathitikorn; คุณากร วงศ์ทิมารัตน์; Kunagorn Wongtimarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      หลักการและเหตุผล : แม้ประเทศไทยได้ให้การคุ้มครองเด็กข้ามชาติ ทั้งการจดทะเบียนและให้ใบรับรองการเกิด การให้วัคซีนป้องกันโรค แต่สถานการณ์ที่เป็นอยู่ พบว่า มีเด็กข้ามชาติจำนวนไม่น้อยไม่มีเอกสารประจำตัว ส่วนหนึ่งมีภาวะทุพโภชน ...
    • การสำรวจความคิดเห็น ประสบการณ์และความคาดหวังของประชาชนต่อระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      เทวินทร์ ขอเหนี่ยวกลาง; สกุลรัตน์ พึ่งประดิษฐ์; พรภพ แสงทอง; อมตา เลิศนาคร; จิรวดี พิศาลวัชรินทร์; สุริยัน บุญแท้; ฝนทอง พันธ์ต่วน; สุภาภรณ์ เบ้าเทศ; จิรวดี พิศาลวัชรินทร์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549-10)
      จากการที่สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ต้องการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนทั่วไปเพื่อให้ทราบสถานการณ์ปัจจุบันเกี่ยวกับการดำเนินงานและนโยบายด้านหลักประกันส ...
    • การสำรวจความคิดเห็น และความนิยมต่อรายการ ชีวิตที่ออกแบบได้: Design for Life 

      สิรินทร พิบูลภานุวัธน์; ธีรพงษ์ บุญรักษา; สุนิดา ศิวปฐมชัย; สุภาพร ฤดีจำเริญ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-09)
      รายการชีวิตที่ออกแบบได้ : Design for Life” นี้เป็นรายการสารคดีเกี่ยวกับระบบสุขภาพในสังคมไทย ผลิตโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ออกอากาศทุกวันศุกร์ เวลา 11.30-12.00 น. ทางสถานีโทรทัศน์ทีวีไทย (Thai PBS) รวมทั้งสิ้น 47 ...
    • การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความเชื่อมั่นต่อระบบสุขภาพ พ.ศ. 2555 

      สำนักงานสถิติแห่งชาติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      การพัฒนาระบบสุขภาพไปสู่ระบบที่พึงประสงค์ หมายถึงการมีระบบต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบย่อย เช่น ระบบสร้างเสริมสุขภาพ ระบบป้องกันควบคุมโรค ระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ เป็นธรรมต่อประชาชน ...
    • การสำรวจความคิดเห็นแพทย์เกี่ยวกับปัญหาที่พบบ่อยใน เวชปฏิบัติและ หนทางในการเพิ่มพูนความรู้ 

      วราภรณ์ เอี้ยวสกุล; Waraporn Aiawsakul; ประนมพร โรจน์บวรวิทยา; สุรเกียรติ อาชานานุภาพ; วิชัย เอกพลากร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณา เพื่อสำรวจความคิดเห็นด้านเวชปฏิบัติของแพทย์ในสาขาอายุรกรรม กุมารเวชกรรม ศัลยกรรม สูตินรีเวชกรรมและออร์โธปิดิกส์ เกี่ยวกับ 1) ปัญหาที่พบบ่อยแนวทางเวชปฏิบัติที่หลากหลาย 2) ภาวะอาการของโรค ...
    • การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป พ.ศ. 2560 (ระยะที่ 1) 

      วิมล โรมา; ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์; มธุรส ทิพยมงคลกุล; ณัฐนารี เอมยงค์; นรีมาลย์ นีละไพจิตร; สายชล คล้อยเอี่ยม; มุกดา สำนวนกลาง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) คือ ระดับสมรรถนะของบุคคล ในการเข้าถึง เข้าใจ ประเมิน และปรับใช้ข้อมูลความรู้ และบริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม ซึ่งการศึกษาที่ผ่านมาระบุว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญที่กำหนดสถานะสุขภาพ ...
    • การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป พ.ศ. 2562 

      วิมล โรมา; Wimon Roma; สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; วรัญญา สุขวงศ์; Warunya Sookawong; ฐิติวัฒน์ แก้วอำดี; Thitiwat Kaew-Amdee; อัจฉรา ตันหนึ่ง; Atchara Tunnung; รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-11)
      การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาสถานการณ์ความรอบรู้ด้านสุขภาพในระดับเขตสุขภาพและประเทศตามทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพและบริบทที่จำเป็นต่อการมีสุขภาพที่ดีตลอดช่วงวัย 2. ...
      Tags:
    • การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับความเข้าใจเรื่องโรค การปฏิบัติตัวและการได้รับวัคซีนโควิด-19 ของประชาชน กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้สูงอายุ และผู้พิการทางการเห็น 

      ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์; Chanuantong Tanasugarn; วัชรา ริ้วไพบูลย์; Wachara Riewpaiboon; นรีมาลย์ นีละไพจิตร; Nareemarn Neelapaichit; ณัฐนารี เอมยงค์; Natnaree Aimyong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคโควิด-19 ของผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และผู้พิการทางการเห็น ที่อาศัยในพื้นที่ที่มีการระบาดแตกต่างกัน โดยในช่วงมิถุนายน 2564 พื้นที่ควบคุมสูงสุด ...
    • การสำรวจความแตกฉานด้านสุขภาพ (Health literacy) ในกลุ่มประชากรตัวอย่าง สำหรับใช้วิเคราะห์ Psychometric เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง 

      มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. ศูนย์วิจัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-11)
      “Health Literacy” หมายถึง ความสามารถในการค้นหาหรือเข้าถึง สร้างความเข้าใจ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลด้านสุขภาพ ในประเทศไทยมีการแปลคำนี้ไว้ต่างกันไป เช่น “ความแตกฉานด้านสุขภาพ” หรือ “การรู้เท่าทันด้านสุขภาพ” หรือ “ความฉลาดทางสุขภาวะ” ...
    • การสำรวจค่าใช้จ่ายการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคในประเทศไทย 

      ผลิน กมลวัทน์; Phalin Karmolwat; ศรีประพา เนตรนิยม; Sriprapa Nateniyom; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; มนทรัตน์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; พิเชต วงรอต; Phichet Wongrot; บุญเชิด กลัดพ่วง; Booncherd Kladphuang; อรรถกร จันทร์มาทอง; Auttagorn Junmartong; อุบลรัตน์ วาจรัต; Ubonrat Wajarat; วัสนันท์ ขันธชัย; Wassanan Khanthachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      การศึกษาวิจัยฉบับนี้ เป็นการวิจัยสำรวจภาคตัดขวาง (cross-sectional survey) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินค่าใช้จ่ายที่ผู้ป่วยวัณโรคและครอบครัวต้องแบกรับ (Out-of-pocket expenditure) เพื่อประเมินอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะวิกฤตทา ...