Now showing items 1428-1447 of 2315

    • ความสามารถในการบริหารจัดการและการตอบสนองขององค์การที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติเฉพาะภายใต้ภาวะวิกฤต 

      ประพนธ์ สหพัฒนา; Prapon Sahapattana; กุลทิพย์ ศาสตระรุจิ; Kullatip Satararuji; พรพรรณ ประจักษ์เนตร; Pornpun Prajaknate; พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต; Phichai Ratnatilaka Na Bhuket; กรณ์ หุวะนันทน์; Gorn Huvanandana; พรเลิศ อาภานุทัต; Pornlert Arpanutud (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-04)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 4 ประการ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาวิเคราะห์คุณลักษณะในมิติต่างๆ ขององค์การที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติเฉพาะที่ทำให้องค์การมีความสามารถในการบริหารจัดการและตอบสนองท่ามกลางภาวะวิกฤต 2) ศึกษาสัมฤทธิ์ผ ...
    • ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเพื่อการพึ่งตนเองของผู้พิการทางการได้ยิน : กรณีศึกษาจังหวัดชลบุรี 

      ปริญญา สิริอัตตะกุล (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ, 2555-02)
      การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงนโยบายและใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของผู้พิการทางการได้ยิน 2) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการ ...
    • ความเข้มข้นของเรเดียม-226 ในน้ำบ่อตื้นใน อ.นาหม่อม จ.สงขลา 

      จเร วุฒิศาสน์; Chare Wutisan; สุเทพ แสงงาม; Suthep Sangngam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดในการเกิดมะเร็งขึ้นในร่างกาย ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเกิดมะเร็ง ในชีวิตประจําวันน้ำมีส่วนสําคัญในการดํารงชีวิต การใช้น้ำบ่อตื้นเพื่อบริโภคเป็นที่นิยมในหมู่ประชาชนตลอดหลายสิบปีที่ผ่านมา ...
    • ความเชื่อมั่นของประชาชนต่อระบบสุขภาพ พ.ศ. 2553 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; สุวรรณี วังกานต์; วีระศักดิ์ พุทธาศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2553)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) และสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) ได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความเชื่อมั่นต่อระบบสุขภาพ พ.ศ. 2553 เพื่อรวบรวมความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อสมรรถนะของระบบสุขภาพ โดยข้อมูลท ...
    • ความเต็มใจยอมรับและความเต็มใจที่จะจ่ายเงินการได้รับการฉีดวัคซีนกระตุ้นซ้ำป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 

      นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; อรนุช ทองจันดี; Oranuch Thongchundee; วุฒิกุล ธนากาญจนภักดี; Wuttikul Thanakanjanaphakdee; อัจฉรา คำมะทิตย์; Adchara Khammathit; กิตติพร เนาว์สุวรรณ; Kittiporn Nawsuwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02-28)
      การวิจัยเรื่องความเต็มใจยอมรับและความเต็มใจที่จะจ่ายเงินต่อการฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และประเมินตัวทำนายผลลัพธ์ในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความชุกของความต้องการรับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ...
    • ความเป็นธรรมของการใช้บริการสาธารณสุขในประเทศไทย 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; เรนเบอร์ก, คลาส; Rehnberg, Class (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อตรวจสอบว่า บริการสาธารณสุขของประเทศไทยกระจายตามความจำเป็นมากกว่าที่จะกระจายตามความสามารถในการจ่ายเงิน วัตถุประสงค์ของการ ศึกษาครั้งนี้มี 2 ประการ ได้แก่ 1. เพื่อวัดความเท่าเทียมกันขอ ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพ : การประเมินระดับครัวเรือน 

      Suphasit Panarunothai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; วิรัชดา สุทธยาคม; พิชญ์ รอดแสวง; Dirak Phatamasiriwat; Sukanya Khongsawat; Sumrit Sritamrongsawat; Wiratda Sutayakhom; Phi Rodsawaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายสำคัญอย่างหนึ่งที่องค์การอนามัยโลกเสนอแนะแก่รัฐบาลทั้งประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา ประเทศไทยดำเนินนโยบายนี้ทั่วประเทศอย่างรวดเร็วฉับไวเพียงหนึ่งปีหลังจากรัฐบาลใหม่ได้ชัยชนะเสียงข้างมากจากการ ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพระดับครัวเรือน : การสำรวจครัวเรือนรอบที่ 2 และการตรวจร่างกายครั้งที่ 1 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; Direk Patamasiriwat; Sukalaya Kongsawatt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต้องการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมไม่เป็นอุปสรรคกีดขวาง การศึกษาครั้งนี้เพื่อประเมินผลของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2546 โดยการสำรว ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพในฐานะสิทธิมนุษยชนของชาวเขาไร้สัญชาติในประเทศไทย 

      บุญมา สุนทราวิรัตน์; Boonma Sunthrawirat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนาด้วยวิธีผสมผสานทั้งปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินเปรียบเทียบระดับความเป็นธรรมทางสุขภาพของกลุ่มชน 3 กลุ่มโดยใช้กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณจํานวน 789 คน ใน 10 จังหวัดภาคเหนือ ...
    • ความเป็นไปได้ของแหล่งเงินต่างๆ ตามมาตรา 39 ในพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ในทัศนะของผู้สันทัดกรณี 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Chitpranee Vasavid; Kanjana Tisayaticom; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      แหล่งการเงินของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในขณะนี้มาจากการจัดทำคำขอจากเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลโดยเลือกใช้การจัดทำงบประมาณปลายปิดด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวคูณกับจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียน จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ...
    • ความเสมอภาคในมุมมองของผู้ชี้นำทางสังคม : กรณีพระนักวิชาการทางพุทธศาสนาในสังคมไทย 

      อำนวย พิรุณสาร; Aamnuay Pirunsan (สถาบันวิจัยระบบสาธาณสุข, 2549)
      จากรายงานผลการวิจัยเรื่อง “ความเสมอภาค ในมุมมองของผู้ชี้นําทางสังคม : กรณีศึกษานักบวช (พระ) นักวิชาการทางพุทธศาสนาในสังคมไทย” พบว่า หลักคําสอน หลักปฏิบัติของพุทธศาสนา แม้จะเป็นหลักคําสอน และหลักปฏิบัติเพื่อมุ่งเน้นจุดมุ่ ...
    • ความเสี่ยงของการถ่ายทอดเชื้อทางโลหิตบริจาคในชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย 

      พิมล เชี่ยวศิลป์; Pimol Chiewsilp; ศศิธร เพชรจันทร; Sasitorn Bejrachandra; อิศรางค์ นุชประยูร; Issarang Nuchprayoon; พิมพรรณ กิจพ่อค้า; Pimpun Kitpoka; ปาริชาติ เพิ่มพิกุล; Parichart Permpikul; ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์; Cheewanan Lertpiriyasuwat; วารุณี จินารัตน์; Varunee Jinaratana; พรรณดี วัฒนบุญยงเจริญ; Phandee Watanaboonyongcharoen; ดวงตะวัน ธรรมาณิชานนท์; Duangtawan Thammanichamond; ดารินทร์ ซอโสตถิกุล; Darintr Sosothikul; โอภาส พุทธเจริญ; Opass Putcharoen; เจตตวรรณ ศิริอักษร; Jettawan Siriaksorn; ธนะภูมิ รัตนานุพงศ์; Thanapoom Rattananupong; ภาวิณี คุปตวินทุ; Pawinee Kupatawintu; สิณีนาฏ อุทา; Sineenart Oota; สาธิต เทศสมบูรณ์; Sathid Thedsomboon; เกรียงศักดิ์ ไชยวงค์; Kriangsak Chaiwong; ดวงนภา อินทรสงเคราะห์; Duangnapa Intharasongkroh; พีระยา สุริยะ; Peeraya Suriya; อภิสิทธิ์ ทองไทยสิน; Apisit Tongthaisin; อภิวรรษ ติยะพรรณ; Apiwat Tiyapan; คามิน วงษ์กิจพัฒนา; Kamin Wongkijpatana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02-14)
      ที่มาและวัตถุประสงค์ จากการลดลงของความชุกโรคเอดส์ ร่วมกับมีการตรวจวิเคราะห์ด้วยวิธี Nucleic Acid Test ที่ช่วยลด Window Period ของการตรวจเชื้อเอชไอวี (Human Immunodeficiency Virus, HIV) บางประเทศจึงเริ่มให้ผู้มีพฤติกรรมเพ ...
    • ความเสี่ยงและความปลอดภัย: การโดยสารรถตู้สาธารณะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 

      อมราพร สุรการ; Amaraporn Surakarn; ณภัทรรัตน์ ไชยอัครกัลป์; Napattararat Chaiakkarakan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-05)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ทำความเข้าใจธรรมชาติของสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการโดยสารรถตู้สาธารณะในชีวิตประจำวัน ผ่านมุมมองของผู้โดยสารและคนขับรถตู้โดยสารสาธารณะ 2) ค้นหาแนวทางในการป้องกันอันตรายข ...
    • ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการให้แพทย์เกษียณอายุราชการมาปฏิบัติงานรักษาผู้ป่วยในโรงพยาบาลของรัฐ 

      ซำแก้ว หวานวารี; Samkaew Wanvaree; วิชัย เอกพลากร; บุศรา เกิดพึ่งประชา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
      ความเหมาะสม และความเป็นไปได้ในการให้แพทย์ เกษียณอายุราชการมาปฏิบัติงานรักษาผู้ป่วยในโรงพยาบาลของรัฐจากการศึกษา ความเป็นไปได้ ในโครงการจ้างแพทย์เกษียณอายุ มาทำงานให้รัฐโดยเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ความคิดเห็นแพทย์ทางโทรศัพท์ ...
    • ความแตกฉานทางสุขภาพของคนไทย 

      นภาพร วาณิชย์กุล; สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์; จเร วิชาไทย; บุศราภรณ์ เพชรรุ่ง; สายชล คล้อยเอี่ยม; รอย แบทเทอร์แฮม; ริชาร์ด ออสบอร์น (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      เพื่ออธิบายแนวคิดความแตกฉานทางสุขภาพของคนไทยสำหรับคนไทย 5 กลุ่ม ประกอบด้วยคนไทยที่ดูมีสุขภาพดี คนพิการทางการมองเห็น การเคลื่อนไหว การได้ยิน และผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับภาวะหลอดเลือดแดงตีบแข็ง (โรคหลอดเลือดหัวใจ ...
    • คำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย : ระยะที่ 1 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; สรรธวัช อัศวเรืองชัย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; จเด็จ ธรรมธัชอารี; ภรณี เหล่าอิทธิ; Santawat Asawarueangchai; Kin Phongphirun; Jadej Thammatacharee; Pharanee Laoitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการวิจัยนี้ประกอบด้วยการศึกษา 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นการทบทวนประสบการณ์การทำวิจัยด้านคุณภาพของบริการสุขภาพ และการทำข้อเสนอกรอบคำถามของการวิจัยเบื้องต้น และระยะที่ 2 ซึ่งจะการสำรวจสถานการณ์และข้อคำถามของผู้ ...
    • คำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย : ระยะที่ 2 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; สรรธวัช อัศวเรืองชัย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; จเด็จ ธรรมธัชอารี; ภรณี เหล่าอิทธิ; Santawat Asawarueangchai; Krit Pongpirul; Jadej Thammatacharee; Poranee Laoitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      โครงการวิจัยคำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย นี้ประกอบด้วยการศึกษา 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นการทบทวนประสบการณ์การทำวิจัยด้านคุณภาพของบริการสุขภาพ และการทำข้อเ ...
    • คำสารภาพ บาปบริสุทธิ์ 

      อรสม สุทธิสาคร; Orasom Suthisakorn (สารคดี, 2547)
      ผู้หญิงที่เป็นแม่มักจะกลายเป็นศูนย์กลางแห่งการเพ่งโทษของสาธารณชน ครอบครัว ชุมชน หรือแม่แต่สื่อมวลชน ซึ่งมักจะมองเห็นปรากฏการณ์การทอดทิ้งลูกเพียงภาพผิวเผินในระดับความผิดพลาดของผู้หญิงแต่ละคน โดยละเลยที่จะวิเคราะห์ให้ลึกลง ...
    • คุณภาพของข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนและสถานการณ์อุบัติเหตุทางถนนในประเทศไทย 

      ยอดพล ธนาบริบูรณ์; Yodphon Tanaboribun (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548)
      รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสมบูรณ์คุณภาพของข้อมูลและเพื่อรวบรวม วิเคราะห์สถานการณ์อุบัติเหตุจราจร และความสัมพันธ์กับแนวโน้มการกระจายของปัจจัยเสี่ยงจากแหล่งข้อมูลที่มี เพื่อการวางยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาแ ...
    • คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีและไม่มีภาวะแทรกซ้อนและแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 

      ปัฐยาวัชร ปรากฎผล; Padthayawad Pragodpol; เยาวดี สุวรรณนาคะ; อรุณี ไชยฤทธิ์; บุญสืบ โสโสม; สราวุฒิ สีถาน; มยุรี สร้อยศรีสวัสดิ์; สำราญ จันทร์พงษ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งโรคนี้ก่อให้เกิดอาการที่ไม่พึงประสงค์และภาวะแทรกซ้อนที่อวัยวะสำคัญที่ผู้ป่วยต้องจัดการ ซึ่งทำให้มีผลกระทบต่อระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย วัตถุประ ...