Now showing items 1555-1574 of 2309

    • ทางเลือกเชิงนโยบายในการผลิตกำลังคนด้านสุขภาพในสองทศวรรษหน้า 

      สถาบันพระบรมราชชนก; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; สำนักนโยบายและแผนสาธารณสุข; Praboromarajchanok Insititute; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      รายงานการศึกษาวิจัยเพื่อการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ เรื่องทางเลือกเชิงนโยบายในการผลิตกำลังคนด้านสุขภาพ ในสองทศวรรษหน้าการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคตของระบบสาธารณสุขซึ่งจะเชื ...
    • ทางเลือกในการจัดสรรงบประมาณตามกลุ่มโรคร่วมผู้ป่วยจิตเวชของประเทศไทย 

      บุปผวรรณ พัวพันธ์ประเสริฐ; Buppawan Phuaphanprasert; โรงพยาบาลสวนปรุง; Saunprung Hospital (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2549)
      ประเทศไทยในปัจจุบันมีการจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยในทางจิตเวชด้วยวิธีกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (Diagnosis related group: DRG) ซึ่งเมื่อนํามาใช้กับกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชพบว่ามีจุดอ่อนหลายประการ เป็นต้นว่าการที่ DRG ไม่สะท้อนการ ...
    • ทิศทางและแนวโน้มการปรับบทบาทและโครงสร้างกระทรวงสาธารณสุข 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-04)
    • ทีมบูรณาการสุขภาพ การเรียนรู้พัฒนา และการคุ้มครองเด็ก เพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะ กลุ่มเด็กยากจน และมีความขาดแคลนแบบพหุปัจจัย 

      อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์; Adisak Plitponkarnpim; จิราวรรณ กล่อมเมฆ; Jirawan Klommek; ชญาภรณ์ ตีวารี; Chayabhorn Tiwaree; สาวิตรี ไกรขจรกิตติ; Sawitree Krikajornkitti; สุวะรีย์ ดำเนินวุฒิ; Suwaree Damnernvut; งามตา รอดสนใจ; Ngamta Rodsonjai; นุจนา กันแก้ว; Nujana Kankaew; บุศราพร จงเจริญถาวรกุล; Busaraporn Chongcharoenthawonkul; มาริสา นิ่มกุล; Marisa Nimkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-05)
      การศึกษานี้ได้ศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะสุขภาพและความยากจนขาดแคลน โดยศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการชี้เป้าโดยชุมชนเองตามความรับรู้สภาพความยากจนขาดแคลนของชุมชน จากพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร สมุทรสาคร สมุทรปราการและนครปฐม ...
    • ที่แห่งนี้รักษาด้วยความสุข 

      อรสม สุทธิสาคร; Orasom Suthisakorn (สารคดี, 2551)
    • ทุกข์จากโรงพยาบาล : 6 ประสบการณ์ความทุกข์ของผู้ป่วยจาก "15 กรณีศึกษาว่าด้วยความทุกข์กับระบบริการสุขภาพ 

      สุกรานต์ โรจนไพรวงศ์; Sukran Rojanapriwong; สารี อ๋องสมหวัง (มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค, 2542)
    • ทุกข์และการเผชิญทุกข์คนไทยในระบบสุขภาพ 

      พิมพวัลย์ บุญมงคล; Pimpawan Boonmongkul; ปรารถนา จันทรุพันธุ์; จุรีรัตน์ กิจสมพร; ลือชัย ศรีเงินยวง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การศึกษานี้มุ่งเจาะลึกถึงความทุกข์ มิติของความทุกข์ซึ่งเป็นมุมมองที่มาจากหลายๆ ส่วน ทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และทางชีววิทยาหรือกายภาพ การเผชิญและแก้ไขปัญหาความทุกข์ในมิติต่างๆ ที่เป็นผลมาจากระบบสุขภาพในปัจ ...
    • ธนาคารออกานอยด์มะเร็งตับและท่อน้ำดีไทย และฐานข้อมูลพันธุกรรมเชิงลึกสำหรับการหาตัวชี้วัดชีวภาพและพัฒนาการรักษาแบบจำเพาะต่อผู้ป่วย 

      นิพัญจน์ อิศรเสนา ณ อยุธยา; Nipan Israsena Na Ayudhaya; พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์; Pisit Tangkijvanich; สิระ ศรีสวัสดิ์; Sira Sriswasdi; แพรวพรรณ อิงรุ่งเรืองเลิศ; Praewphan Ingrungruanglert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      มะเร็งตับเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ การรักษาปัจจุบันยังได้ผลไม่ดีเท่าที่ควร ทำให้มีผู้ป่วยจำนวนมากเสียชีวิตจากโรคนี้ เมื่อไม่นานมานี้เกิดเทคโนโลยีใหม่ทำให้สามารถเพาะมะเร็งตับของผู้ป่วยในรูปแบบสามมิติที่เรียกว่าออกานอยด์ ...
    • ธรรมชาติของปัญหาความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยไทยที่มีโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามขั้นตอนการจัดการการใช้ยาด้วยตนเอง 

      ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew; ศศิมาภรณ์ แหยงกระโทก; Sasimaporn Yaengkratok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      วัตถุประสงค์ : (1) เพื่อศึกษาปัจจัยของความไม่ร่วมมือในการรักษาด้วยยาในผู้ป่วยสูงอายุ โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มารับการรักษาในสถานะผู้ป่วยนอก (2) เพื่อประเมินมูลค่าของยาเหลือใช้ซึ่งเกิดจากความไม่ร่วมมือในการรักษาด้วยยาในผู้ ...
    • ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ: มิติทางกฏหมาย 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์; Paisan Limstit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      รายงานวิจัย ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ: มิติทางกฎหมาย ศึกษาธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ซึ่งถูกกำหนดให้เป็นกรอบและแนวทางกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และการดำเนินงานด้านสุขภาพของประเทศคือ ...
    • นวัตกรรมสังคม : การให้ความหมายและลักษณะกิจกรรมในประเทศไทย 

      ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา; Chuenruthai Kanchanachitra; วาสนา อิ่มเอม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การศึกษาครั้งนี้ได้ข้อมูลจากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องในประเทศไทย การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ และการดูงาน ให้ความหมายว่า นวัตกรรมสังคม คือ “สิ่งใหม่ๆ ทั้งที่เป็นกระบวนการทางความคิด (จินตนาการ) หรือการสร้างโอกาส หรือการลงมือปฏิบัติ ...
    • นำการเงินการคลังหนุนการจัดการความรู้สู่สุขภาพวิถีไท 

      นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; กมลนัทธ์ ม่วงยิ้ม; Pattapong Kessomboon; Kamolnut Muangyim (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2549)
      ประเทศไทยมีความพร้อมหรือทุนด้านการแพทย์แผนไทยอยู่มาก นับเป็นหนึ่งในทรัพยากรที่มีคุณค่า เรามีเครือข่ายวิสาหกิจการผลิตสมุนไพรถึงประมาณ 2,500 แห่ง เรามีความหลากหลายของสายพันธุ์ที่มีคุณค่าต่อการผลิตถึง 140,000 ชนิด ...
    • นำร่องการวิจัยสำหรับจีโนมิกส์ประเทศไทย: การศึกษาข้อมูลรหัสพันธุกรรมของผู้ป่วยมะเร็งชาวไทย 

      มานพ พิทักษ์ภากร; Manop Pithukpakorn; ชนพ ช่วงโชติ; Shanop Shuangshoti; ชินโชติ ธีรภัคภิญโญ; Chinachote Teerapakpinyo; นุสรา สัตย์เพริศพราย; Nusara Satproedprai; วสันต์ จันทราทิตย์; Wasun Chantratita; จันทนา ผลประเสริฐ; Chantana Polprasert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของประชากรไทย โดยมะเร็งเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมของเซลล์ การกลายพันธุ์ของยีนก่อมะเร็งที่พบสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด อันได้แก่ การกลายพันธุ์ที่เกิดขึ้นเองในเนื้อเยื่อปกติ (somatic ...
    • นโยบายการขึ้นทะเบียนตำรับยาของประเทศไทย : พัฒนาการและการดำเนินงาน 

      นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี; Niyada Kiatying-Angsulee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเติมช่องว่างของความรู้เรื่องนโยบายขึ้นทะเบียนตำรับยาในประเทศไทย โดยใช้หลายวิธีการของงานวิจัยทางสุขภาพ และการวิเคราะห์นโยบายมาอธิบายร่วมกับการค้นคว้าทางเทคนิคด้านเภสัชกรรมและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ...
    • นโยบายการพัฒนาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือกในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup; ปารณัฐ สุขสุทธิ์; Paranat Suksut; ยงศักดิ์ ตันติปิฎก; Yongsak Thantiphidok; มณฑาวดี ครุธมีชัย; กุลพล คุปรัตน์ (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2557)
      การประเมินนี้ประกอบด้วยวิธีการศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิง นโยบายด้านการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ ทางเลือก ให้เข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้อย่างสอดคล้องกับส ...
    • นโยบายของประเทศไทยเรื่องสิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรม 

      สุรวิช วรรณไกรโรจน์; Suwit Wanakairot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      สิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรมมีศักยภาพในการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ แต่การตอบรับสินค้ากลุ่มนี้ในตลาดโลกมีจำกัด การวิเคราะห์ด้านทรัพย์สินทางปัญญาด้านความเสี่ยงต่อระบบนิเวศ ด้านองค์กรและกฎระเบียบ และด้านเศรษฐศาสตร์ ...
    • นโยบายน้ำ : การจัดการคนกับน้ำยุคปฏิรูป (สรุปผลประชุมเชิงปฎิบัติการ) 

      เครือข่ายสาขานโยบายการจัดการทรัพยากรน้ำ. แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณสุขเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ; เครือข่ายสาขานโยบายการจัดการทรัพยากรน้ำ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      เครือข่ายสาขานโยบายการจัดการทรัพยากรน้ำ แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในปี พ.ศ. 2546 ได้ดำเนินการรวบรวมข้อปัญหา ข้อกังวล เกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ำ ...
    • นโยบายสาธารณะ ผลกระทบต่อสุขภาพ : กรณีศึกษาโครงการโขง-ชี-มูล 

      อุไรวรรณ อินทร์ม่วง; Uraiwan Inmuang; สรัญญา โพธิ์ทอง; สมพร อุดมวินิจศิลป์; Sarunya Pothong; Somporn Udomwinisil (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      “นโยบายสาธารณะ ผลกระทบตjอสุขภาพ กรณีศึกษา โขง-ชี-มูล” เป็นอีกกรณีตัวอย่างหนึ่งที่ชุมชนได้รับผลกระทบทางสุขภาพอันเกิดจากการพัฒนาโครงการของภาครัฐ ซึ่งที่ผ่านมาได้มีการศึกษาถึงผลกระทบของโครงการในหลายด้านจากหลายๆ องค์กร ...
    • นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ 

      ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; Pattapong Kessomboon; อนุพงศ์ สุจริยากุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ : การวิเคราะห์ระบบ การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ 

      เดชรัต สุขกำเนิด; Decharut Sukkumnoed (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การวิเคราะห์ระบบการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากโครงการลงทุน/พัฒนาขนาดใหญ่ และนโยบายต่างๆ สุขภาพในปัจจุบันได้ถูกขยายความให้ครอบคลุมถึงมิติทั้ง 4 ของสุขภาพ โดยครอบคลุมในเรื่องของสุขภาพทางกาย สุขภาพทางจิต สุขภาพทางสังคม ...