Now showing items 1775-1794 of 2315

    • พัฒนาดัชนี Diabetes risk score 

      วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekphakorn (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวิธีการประเมินความเสี่ยงต่อเกิดเบาหวาน จากแบบสอบถามและการวัดดัชนีความอ้วน ใช้ข้อมูลการศึกษาทางระบาดวิทยาในกลุ่มพนักงานไฟฟ้าแห่งประเทศไทย (EGAT study) ในการวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงของการเกิ ...
    • พัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3 ปีที่ 2 

      ปิยทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์; Piyatan Thasanawiwat; ราม รังสินธุ์; อรุณ จิรวัฒน์กุล; บัณฑิต ถิ่นคำรพ; สุธีร์ รัตนะมงคลกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      เครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบันได้ดําเนินงานในการพัฒนาระบบการวิจัยอย่างต่อเนื่องภายใต้โครงการ “การพัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3 ปีที่ 2” ซึ่งเป็นลักษณะการสนับสนุนทุนร่วมกับ สํานักงานคณะกรรมการว ...
    • พัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3 ปีที่ 3 

      ปิยทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์; ราม รังสินธุ์; สุธีร์ รัตนะมงคลกุล; อรุณ จิรวัฒน์กุล; บัณฑิต ถิ่นคำรพ; วสี ดุลวรรธนะ; ภาสกร ศรีทิพย์สุโข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-10)
      การดําเนินงานของเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบันในปี 2551 ที่ผ่านมา ได้รับงบประมาณสนับสนุนหลักทั้งจาก สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ภายใต้โครงการ "พัฒนาระบบการจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3” และจากกลุ่มสถาบันแพทยศาส ...
    • พัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่นำไปปฏิบัติได้จริงในโรงพยาบาลทุกระดับ 

      สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkao; กรรณิการ์ คงบุญเกียรติ; Kannikar Kongbunkiat; ณัฐเศรษฐ มนิมนากร; Nuttaset Manimmanakorn; นรงฤทธิ์ เกษมทรัพย์; Narongrit Kasemsap (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-21)
      การวิจัยเรื่อง พัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่นำไปปฏิบัติได้จริงในโรงพยาบาลทุกระดับ หรือ Development of Practical Care Plan for Stroke Patients in Multi-Level Hospital มีวัตถุประสงค์หลัก คือ ต้องการพัฒนารูปแ ...
    • พันธกิจ สวรส ในการตอบสนองเป้าประสงค์ในอนาคต พ.ศ.2548-2552 

      ฉัตรวรัญ องคสิงห์; Chatwarun Ongkasing (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้แนวคิดพันธกิจสำหรับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส) ที่จะตอบสนองต่อเป้าหมายในอนาคตในระยะ 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ.2548-2552) เพื่อนำผลที่ได้มาเสนอเป็นกรอบทางเลือกเบื้องต้นให้กับคณะกรรมการ ...
    • พุทธกระบวนทัศน์เพื่อสุขภาพและการเยียวยาในสังคมไทย 

      วิชิต เปานิล; Wichit Paunil (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษานี้สำรวจพระคัมภีร์พื้นฐานในพุทธศาสนาเพื่อดูว่าเมื่อพิจารณาพุทธศาสนาในฐานะที่เป็นกระบวนทัศน์แล้ว กระบวนทัศน์พุทธศาสนาจะมีหลักการอย่างไร มีความแตกต่างจากกระบวนทัศน์อื่นอย่างไร ภายใต้กระบวนทัศน์นี้มีทัศนะต่อสุขภาพแล ...
    • ภาคีเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ 

      ลักขณา เติมศิริกุลชัย; สุชาดา ตั้งทางธรรม; Lukana Termsirikulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • ภาคเอกชนกับการให้บริการสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุในประเทศไทย 

      วาทินี บุญชะลักษี; Watinee Boonchaluksi; ยุพิน วรสิริอมร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ความต้องการบริการสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุในประเทศไทยเพิ่มสูงขึ้นเป็นลำดับ เนื่องจากประชากรกลุ่มนี้มีจำนวนเพิ่มขึ้นและมีแนวโน้มที่จะมีอายุยืนยาวขึ้น ความต้องการที่เพิ่มขึ้นไม่สอดคล้องกับหน่วยงานหรือสถานบริการของภาครัฐที่ให้บริการ ...
    • ภาพรวมของระบบบริการที่พึงประสงค์ในทัศนะผู้ทรงคุณวุฒิ 

      เกษม วัฒนชัย; Kasem Wattanachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • ภาระทางเศรษฐศาสตร์และการพยากรณ์โรคของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบเฉียบพลันและฟังปอดพบเสียงวิ้ด 

      ภาสกร ศรีทิพย์สุโข; Pasakorn Srithipsukho (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      ส่วนใหญ่ของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบหืดและหายใจมีเสียงวี๊ดในการศึกษานี้ จะมีอายุน้อยกว่า 2 ปี และมักพบในเด็กชายมากว่าเด็กหญิง สารก่อภูมิแพ้จากไข่ขาวและนมวัว เป็นสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยในเด็กกลุ่มนี้ จากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ...
    • ภาระทางเศรษฐศาสตร์และการพยากรณ์โรคของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบเฉียบพลันและฟังปอดพบเสียงวิ้ด (ต่อเนื่องปีที่ 2) 

      ภาสกร ศรีทิพย์สุโข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)
      ภาวะหอบเฉียบพลันและหายใจมีเสียงวี๊ดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในเด็ก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการประเมินต้นทุนของการรักษาภาวะดังกล่าวในเด็กก่อนวัยเรียนภายใต้มุมมองของสังคม มุมมองสถานพยาบาลและมุมมองผู้ป่วย การศึกษานี้เก็บข้ ...
    • ภาระทางเศรษฐศาสตร์และการพยากรณ์โรคของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบเฉียบพลันและฟังปอดพบเสียงวี้ด 

      ภาสกร ศรีทิพย์สุโข; อารยา ศรัทธาพุทธ; ศิริกุล มะโนจันทร์; กล่องทิพย์ มัชฌิมดำรง; ศศวรรณ ชินรัตนพิสิทธิ์; วิศรุต การุญบุญญานันท์; จิตลัดดา ดีโรจนวงศ์; สุชาดา ศรีทิพยวรรณ; พรรณทิพา ฉัตรชาตรี; นริศรา สุรทานต์นนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      ภาวะหอบเฉียบพลันและหายใจมีเสียงวี้ดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในเด็ก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการประเมินต้นทุนของการรักษาภาวะดังกล่าวในเด็กก่อนวัยเรียนซึ่งนอนโรงพยาบาล ภายใต้มุมมองของสังคม มุมมองสถานพยาบาล และมุมมองผู้ป่วย ...
    • ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยในอดีตพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายมีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ในระยะเวลา 3 ปี กลุ่มวิจัยจึงมีความประสงค์เพื่อค้นหาสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยงในการติดตามผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นเวลา ...
    • ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย (ต่อเนื่องปีที่ 2) 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10)
      จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยในอดีตพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงที่ขาตีบตัน หรือโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (peripheral artery disease-PAD) มีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ในระยะเวลา 3 ปี กลุ่มวิจัยจึงมีคว ...
    • ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย ต่อเนื่องปีที่ 3 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในอดีตพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงที่ขาตีบตัน หรือโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (peripheral artery disease-PAD) มีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ...
    • ภาระโรคจากปัจจัยเสี่ยงของประชาชนไทยในปี พ.ศ. 2547 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2551)
      ในการวัดสถานะสุขภาพของประชาชนไทยแบบองค์รวม ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นเครื่องชี้วัดภาระโรค (Burden of Disease) ของคนไทยนั้น คิดมาจากความสูญเสียที่เกิดมาจากการตายก่อนวัยอันควรและความสูญเสียจากการเจ็บป่วยหรือพิการ โดยเรามักจะเข้า ...
    • ภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ.2547 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-02)
      ผลการศึกษาของโครงการศึกษาพัฒนาการดำเนินการจัดทำเครื่องชี้วัดภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทยพบว่าภาระทางสุขภาพจากโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทยปี พ.ศ. 2547 สรุปได้ดังต่อไปนี้ การคาดประมาณอายุขัยเฉลี่ยประชากรไทยปี พ.ศ. ...
    • ภาระโรคในคนไทยและแนวคิดเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 

      จิตร สิทธีอมร; Chirt Sitthi-Amorn; วัฒนา ส.จั่นเจริญ (วิทยาลัยการสาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
      ภาระโรคในคนไทยและแนวคิดเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระยะสิบกว่าปีที่ผ่านมา มีรายงานเรื่องภาระโรคของประชากรในประเทศไทยหลายฉบับที่พยายามรวบรวมข้อมูล ทั้งหมดเท่าที่พบ เช่น รายงานของคณะกรรมการระบาดวิทยาแห่งชาติ, ...
    • ภาวะที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาลในประเทศไทย (โครงการนำร่อง) 

      ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; Pataphong Ketsomboon; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Supasit Pannarunothai; Weerasak Jongsuwiwanwong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ภาวะที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลเป็นสิ่งที่สร้างความสูญเสียให้แก่ทั้งผู้ป่วย ญาติ ผู้ให้บริการและระบบบริการสุขภาพของประเทศ เป็นสิ่งที่ไม่ควรจะเกิดขึ้น แต่บางครั้งอาจจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ...