• การกระจายอำนาจจากส่วนกลางให้ท้องถิ่นและภูมิภาค ประเมินความก้าวหน้า อุปสรรคและนัยต่อสุขภาพของประชาชน 

      ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; Direk Patamasiriwat (คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2547)
      การกระจายอํานาจและถ่ายโอนภารกิจจากราชการส่วนกลางให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นส่วนหนึ่งของการปรับปรุงโครงสร้างภาครัฐให้เหมาะสมตามแนวทางลดบทบาทของราชการส่วนกลางในขณะเดียวกันต้องการเพิ่มบทบาทให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ ...
    • การพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิบนฐานการคลังที่เป็นธรรมและยั่งยืนสําหรับคนไทยถ้วนหน้า 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; Direk Pattamasiriwat; ศิลา โทนบุตร; Sila Tonboot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)
      ปัจจุบันความสำคัญของการขับเคลื่อนนโยบายด้วยข้อมูลในการดูแลสุขภาพ มีความสำคัญเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะกับการปรากฏของข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ประเทศไทย สามารถใช้ประโยชน์จากช่องทางข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให ...
    • การวิจัยนโยบายสาธารณะ : ประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นในระดับพื้นที่ 

      ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ (แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2550-09)
    • การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนประสิทธิภาพและธรรมภิบาลระดับ อบต. : การเรียนรู้ร่วมกับท้องถิ่น 

      ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; Direk Patamasiriwat; กิตติพัฒน์ แสนทวีสุข; ดนัย พาหุยุทธ์; ดาริน คงสัจวิวัฒน์; ชาณวุฒิ ไชยรักษา; Kittipat Saentaweesuk; Danai Pahuyut; Darin Khonhsatwiwan; Chanwun Chairaksa (คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)
      การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนประสิทธิภาพ และธรรมาภิบาลระดับอบต. โดยเน้นเรื่อง การเรียนรู้ร่วมกับท้องถิ่น และได้ประสานกับจังหวัดพิจิตร พิษณุโลก และเพชรบูรณ์ เป็นพื้นที่นำร่อง และมีโครงการที่ ...
    • การศึกษาประสิทธิภาพและต้นทุนของสถานพยาบาลในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 

      ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-08)
      รายงานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของชุดโครงการวิจัยเพื่อติดตามประเมินผลระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าต่อการคลังของสถานพยาบาลที่สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยมีจุดประสงค์เพื่อ ก) พัฒนาองค์ความรู้ทางวิชาการว่าด้วยการวัดประสิทธ ...
    • การสนับสนุนธรรมภิบาลของ อบต.และการมีส่วนร่วมของประชาชน : การเรียนรู้ร่วมกับท้องถิ่น ระยะที่ 2 

      ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; Direk Patamasiriwat; ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ; วรรณา พงษ์ถิ่นทองงาม; วิทยา คามุณี; ครรชิต สุขนาค; ธนวัฒน์ ขวัญบุญ; Natachet Phulcharoen; Wanna Phongthinngam; Witaya Damunee; Khanchit Suknak; Thanawat Khanbun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) เป็นองค์กรน้องใหม่ อยู่ในระยะของการเปลี่ยนผ่าน (transitional state) ซึ่งสอดคล้องกับหลักการกระจายอำนาจจากส่วนกลางให้กับท้องถิ่น ในแง่หนึ่งได้มีมาตรการเพิ่มพลังให้ท้องถิ่น (empowerment) ...
    • การใช้ต้นแบบเครื่องชี้วัดและระเบียบวิธีวัดประสิทธิภาพในสถานพยาบาล 

      ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; เฉลิมพล แจ่มจันทร์; ครรชิต สุขนาค; ชาญวิทย์ ทระเทพ; วัฒน์ชัย จรูญวรรธนะ; ผลิดา ภูธรใจ; พัชนี ธรรมวันนา; นัฐนี บัณฑะวงศ์; สุพินดา สาทรกิจ (สำนักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2552-06)
      การศึกษาวิจัยติดตามประเมินประสิทธิภาพสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานพยาบาลอื่นๆ ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนจากรัฐ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าสถานพยาบาลของรัฐดังกล่าว ได้มีการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับจัดสรรจากรัฐบาลที่ได้มาจ ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพ : การประเมินระดับครัวเรือน 

      Suphasit Panarunothai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; วิรัชดา สุทธยาคม; พิชญ์ รอดแสวง; Dirak Phatamasiriwat; Sukanya Khongsawat; Sumrit Sritamrongsawat; Wiratda Sutayakhom; Phi Rodsawaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายสำคัญอย่างหนึ่งที่องค์การอนามัยโลกเสนอแนะแก่รัฐบาลทั้งประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา ประเทศไทยดำเนินนโยบายนี้ทั่วประเทศอย่างรวดเร็วฉับไวเพียงหนึ่งปีหลังจากรัฐบาลใหม่ได้ชัยชนะเสียงข้างมากจากการ ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพระดับครัวเรือน : การสำรวจครัวเรือนรอบที่ 2 และการตรวจร่างกายครั้งที่ 1 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; Direk Patamasiriwat; Sukalaya Kongsawatt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต้องการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมไม่เป็นอุปสรรคกีดขวาง การศึกษาครั้งนี้เพื่อประเมินผลของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2546 โดยการสำรว ...