Now showing items 1-5 of 5

    • การประเมินความพร้อมของระบบสุขภาพในการให้บริการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมและการฟื้นฟูสมรรถภาพในประเทศไทย 

      ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; ชลทิชา จันทร์แจ่ม; Chonticha Chanjam; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; ณัฐธิดา มาลาทอง; Natthida Malathong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-10)
      ความพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมายเป็นความพิการที่มีจำนวนมากเป็นลำดับสอง รองจากความพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย ซึ่งมีประมาณ 372,189 คน ในประเทศไทย ผู้พิการทางการได้ยินระดับหูตึงรุนแรงและหูหนวก (ความชุกประมาณ ...
    • การพัฒนาการกำกับดูแลข้อมูลและการติดตามความปลอดภัยโครงการวิจัยคลินิกของฟ้าทะลายโจรในผู้ป่วยโควิด-19 

      จันทรา กาบวัง เหล่าถาวร; Juntra Laothavorn; ธนา ขอเจริญพร; Thana Khawcharoenporn; ทิพวรรณ เลียบสื่อตระกูล; Tippawan Liabsuetrakul; รัตนวดี ณ นคร; Ratanavadee Na Nagara; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)
      การขึ้นทะเบียนยาสมุนไพรเพื่อใช้ทางการแพทย์จำเป็นต้องมีสรรพคุณเฉพาะ (Specific Health Claim) หรือข้อบ่งใช้ (Clinical Indication) โดยมีหลักฐานผลการวิจัยทางคลินิกที่เป็นที่ยอมรับตามมาตรฐานสากล โดยมีการออกแบบการวิจัยในการพิสู ...
    • การพัฒนาอุปกรณ์เพื่อการคัดกรองการได้ยินในเด็กปฐมวัยที่เหมาะสม 

      พศิน อิศรเสนา ณ อยุธยา; Pasin Israsena; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; Panida Thanawirattananit; พรเทพ เกษมศิริ; Pornthep Kasemsiri; อนุกูล น้อยไม้; Anukool Noymai; สังวรณ์ ศรีสุทัศน์; Sangvorn Seesutas; ธราพงษ์ สูญราช; Tharaphong Soonrach; ศิวัตม์ สายบัว; Siwat Saibua (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      โครงการวิจัย เป็นการพัฒนาเครื่องมือเพื่อใช้คัดกรองการได้ยินในเด็กปฐมวัย ที่มุ่งเน้นให้สามารถคัดกรองได้อย่างรวดเร็ว แม่นยำ และมีราคาประหยัด โดยใช้เทคนิคการคัดกรองการได้ยินโดยการชี้ภาพที่สอดคล้องจากการฟังเสียงพูดภาษาไทย ...
    • การพัฒนาเครือข่ายและรูปแบบค้นหาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการทางการได้ยินในชุมชนต่อเนื่องระยะยาว 

      ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; Panida Thanawirattananit; พรเทพ เกษมศิริ; Pornthep Kasemsiri; ภาธร ภิรมย์ไชย; Patorn Piromchai; ภีม เอี่ยมประไพ; Pheem Leomprapai; สาธิต ก้านทอง; Sathit Kanthong; ชฎาธาร เหลืองสว่าง; Chadarthan Luangsawang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      ความพิการทางการได้ยินเป็นปัญหาที่มีพบบ่อยโดยเฉพาะในผู้สูงอายุ สำหรับประเทศไทยพบว่าสัดส่วนประชากรมีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นทุกปี ปัญหาการเข้าถึงบริการตรวจประเมินความพิการและฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์สำหรับผู้พิการทางการได้ยินนั ...
    • การศึกษาการขยายบริการตรวจคัดกรองการได้ยินในทารกแรกเกิดในประเทศไทย: ความเป็นไปได้ ต้นทุน และความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ 

      ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ชนิดา เอกอัครรุ่งโรจน์; Chanida Ekakkararungroj; ณชวิศ กิตติบวรดิฐ; Nachawish Kittibovorndit; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; พิทยาพล ปีตธวัชชัย; Pittayapon Pitathawatchai; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การได้ยินเป็นพื้นฐานสำคัญของการพูดและพัฒนาการทางภาษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงอายุ 3 ปีแรกของชีวิต หากเด็กมีความผิดปกติทางการได้ยินจะส่งผลกระทบโดยตรงกับพัฒนาการด้านการพูดและภาษารวมถึงการเข้าสังคม การเรียน ภาวะจิตใจ ความจำ ...