Now showing items 1-2 of 2

    • การวิจัยเพื่อติดตามผลกระทบจากสารอาร์เซนิก แมงกานีส ไซยาไนด์ และฟื้นฟูภาวะบกพร่องทางสติปัญญา กระบวนการรู้คิด และการเรียนรู้ในเด็กประถมศึกษาปีที่ 4-6 

      นุชนาฎ รักษี; Nootchanart Ruksee; อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์; Adisak Plitponkarnpim; ธีรตา ขำนอง; Thirata Khamnong; ศรัล ขุนวิทยา; Sarun Kunwittaya; อธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล; Athiwat Jiawiwatkul; วสุนันท์ ชุ่มเชื้อ; Vasunun Chumchua; พิไลวรรณวดี หุตะเมขลิน; Pilaiwanwadee Hutamekalin; กันนิกา เพิ่มพูนพัฒนา; Kannika Permpoonputtana; นนทสรวง กลีบผึ้ง; Nonthasruang Kleebpung; อรพินท์ เลิศอวัสดาตระกูล; Orapin Lertawasdatrakul; กรณัฐ โรจน์ไพรินทร์; Karanat Rodpairin; กนกพร ดอนเจดีย์; Khanokporn Donjdee; นันทนัช สงศิริ; Nanthanat Songsiri; สาลินี จันทร์เจริญ; Salinee Janjaroen; วินันดา ดีสวัสดิ์; Winanda Deesawas; ศิวลี โกศลศศิธร; Siwalee Kosonsasitorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)
      ยุทธศาสตร์การศึกษาของชาติเน้นการพัฒนาศักยภาพเด็กไทยทุกคนให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 หมายรวมถึงเด็กในพื้นที่เสี่ยงจากอุตสาหกรรมโลหะหนัก จากการศึกษาในปี พ.ศ. 2559 พบมีอุบัติการณ์การรับสัมผัสสารหนูอนินทรีย์ในปัสสาวะในเด็ก ร้อยละ ...
    • ผลกระทบของสื่อดิจิทัลที่มีผลต่อพัฒนาการมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 

      นนทสรวง กลีบผึ้ง; อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์; Adisak Plitponkarnpim; ธีรตา ขำนอง; Thirata Khamnong; อรพินท์ เลิศอวัสดาตระกูล; Orapin Lertawasadatrakul; นุชนาฏ รักษี; Nootchanart Ruksee; กันนิกา เพิ่มพูนพัฒนา; Kannika Permpoonputtana; วสุนันท์ ชุ่มเชื้อ; Vasunun Chumchua; Nonthasruang Kleebpung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      ปัจจุบันเด็ก เยาวชน และครอบครัวสามารถเข้าถึงอุปกรณ์ดิจิทัล ได้แก่ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์พกพาส่วนตัว และเลือกใช้สื่อเพื่อตอบสนองความต้องการในการใช้งานและเปิดรับข้อมูลข่าวสารได้อย่างไม่มีขีดจำกัดและยากต่อการควบคุม ...