• กลไกและปัจจัยในการจัดการให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลโดยภาคประชาชน 

      พักตร์วิภา สุวรรณพรหม; หทัยกาญจน์ เชาวนพูนผล; ศิริตรี สุทธจิตต์; รัตนาภรณ์ อาวิพันธ์; ภูริดา เวียนทอง; ท้ัชชัย เรือนแปง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      การศึกษานี้ใช้การทบทวนวรรณกรรมตั้งแต่ปี ค.ศ. 2002 - 2012 และการสัมภาษณ์เชิงลึกบุคลากรทางการแพทย์ ผู้นำชุมชน และประชาชนผู้ใช้ยา ในชุมชนที่มีประสบการณ์การสร้างเสริมศักยภาพของประชาชนร่วมกับการสนทนากลุ่ม เพื่อทบทวนรูปแบบ กลไก ...
    • การจัดทำทิศทางและโจทย์วิจัยเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พักตร์วิภา สุวรรณพรหม; Puckwipa Suwannaprom; ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; อัญชลี จิตรักนที; Anchalee Jitraknatee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบยา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ถูกจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2552 และให้การสนับสนุนทุนวิจัยรวมทั้งจัดการงานวิจัยอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสถานการณ์ในระบบยาของประเทศและปัจจัยแวดล้อม ...
    • การทบทวนตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ 

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. สำนักยา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      วัตถุประสงค์ 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลสำหรับการพิจารณาทบทวนประกาศระบุตำรายา USP และ BP สมควรมีการปรับปรุงเป็นฉบับใหม่หรือไม่ 2. เพื่อหาข้อมูลในการพิจารณาว่าสมควรเพิ่ม European Pharmacopoeia เป็นตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศด้วยหรือไม่
    • การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการทำ Managed Entry Agreement (MEA) 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha–oncin Sooksriwong; ปิยพัทธ์ โอวาท; Piyapat Owat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      เมื่อยาที่มีราคาแพงหรือยาใหม่ที่มีข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพของยาที่ยังไม่สมบูรณ์ออกสู่ตลาด จะมีผลกระทบต่อผู้ซื้อบริการสุขภาพในฐานะที่เป็นผู้จ่ายเงินในระบบสุขภาพ การทำข้อตกลงในรูปแบบ managed entry agreement หรือ MEA ...
    • การทบทวนองค์ความรู้และประสบการณ์ของต่างประเทศ และประเทศไทยในการทบทวนทะเบียนตำรับยาและระบบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 

      ยุพดี ศิริสินสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขหน่วยปฏิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552-10)
      รายงานการทบทวนองค์ความรู้และประสบการณ์ของต่างประเทศและประเทศไทยในการทบทวนทะเบียนตำรับยาและระบบกฎหมายที่เกี่ยวข้องฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบทบทวนทะเบียนตำรับยา โดยมีสาระสำคัญแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ...
    • การทบทวนอย่างเร็ว (Rapid review) งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบยาของประเทศไทย 

      ภิญญุภา เปลี่ยนบางช้าง; กุลธิดา ไชยจินดา; อภินันท์ สิริรัตนาธร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-09)
      จากการทบทวนงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการทั้งสิ้น 132 เรื่อง ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษพบว่า ความไม่เหมาะสมในการใช้ยาที่ยังคงเป็นปัญหาใหญ่ของระบบ และลักษณะของงานวิจัยที่มีขนาดเล็ก ต่างคนต่างทำด้วยแนวปฏิบัติที่ต่างกัน ...
    • การประเมินการใช้ยาก่อนและหลังการเบิกจ่ายตรงของสวัสดิการข้าราชการในโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ในจังหวัดพิษณุโลก 

      ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ์; ปิยะรัตน์ นิ่มพิทักษ์พงศ์; ปิยะเมธ ดิลกธรสกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-08-31)
      การเปลี่ยนแปลงนโยบายการเบิกจ่ายของสิทธิสวัสดิการข้าราชการจากการสำรองจ่าย เป็นการเบิกจ่ายตรงมีแนวโน้มส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการสั่งจ่ายยาของแพทย์ โดยทำให้แพทย์มีแนวโน้มการสั่งจ่ายยาในจำนวนที่เพิ่มขึ้นต่อการเข้ารับบริการของผ ...
    • การพัฒนาการทบทวนทะเบียนตำรับยา กรณีศึกษายาแอสไพริน 

      วรสุดา ยูงทอง; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; วรรณนิษา เถียรทวี; นิพัทธ์ สุขแสนสำราญ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553)
      การพัฒนาการทบทวนทะเบียนตำรับยา: กรณีศึกษายาแอสไพริน มีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของประชาชนให้ได้บริโภคยาแอสไพรินที่มีคุณภาพมาตรฐานอย่างมีประสิทธิผล ปลอดภัย และเป็นการทดลองรูปแบบการพัฒนางานทบทวนทะเบียนตำรับยาให้ ...
    • การพัฒนาระบบการกำกับดูแลยาชีววัตถุในประเทศไทย กรณีศึกษา epoetin 

      วิไล บัณฑิตานุกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      ยาชีววัตถุมีความซับซ้อนทางโมเลกุลมาก จึงไม่สามารถใช้แนวทางการประเมินเดียวกับยาเคมีได้ แม้มีวิธีการวิเคราะห์มากมายในปัจจุบันก็อาจยังไม่เพียงพอที่จะทำนายถึงความปลอดภัยและประสิทธิภาพของยาชีววัตถุได้ มีรายงานการศึกษาหลายฉบับ ...
    • การพัฒนารูปแบบการทบทวนทะเบียนตำรับยาและการนำไปสู่การปฏิบัติ ภายใต้โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบทบทวนทะเบียนตำรับยา 

      วินิต อัศวกิจวิรี; วรสุดา ยูงทอง; อนันต์ชัย อัศวเมฆิน; อัญชลี จิตรักนที; สุจิรา นิพัทธพิมพ์ใจ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      ด้วยทะเบียนตำรับยามีอายุใช้ได้ตลอดเวลาส่งผลให้มียาจำนวนหนึ่งที่อาจมีสมดุลของประโยชน์กับความเสี่ยงแตกต่างจากเดิม สาเหตุหนึ่งเกิดจากการมีวิถีการขึ้นทะเบียนแตกต่างจากสากล เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคจึงจำเป็นต้องมีการทบทวน ...
    • การวิจัยอนาคตระบบยาของประเทศไทย 

      สุพรชัย กองพัฒนากูล; Supornchai Kongpatanakul; ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; นภดล ทองนพเนื้อ; รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การวิจัยอนาคตระบบยาของประเทศไทย วัตถุประสงค์การวิจัย: 1) เพื่อให้ได้ฉากทัศน์อนาคตของการใช้ยาในอีก 10 ปีข้างหน้าซึ่งคาดว่าจะมีโอกาสเกิดขึ้นจริง (most likely scenario) 2) ภาพอนาคตของการใช้ยาที่ปารถนาให้เกิด (most desirable ...
    • การวิเคราะห์การเข้าถึงยาบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชียา จ(2) 

      ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittirachakool; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การเข้าถึงยา (access to medicine) ถือเป็นกุญแจสำคัญที่บ่งบอกความสำเร็จของระบบสาธารณสุขในประเทศนั้นๆ จากรายงานของ World Health Organization (WHO) ในปี 2004 ชี้ให้เห็นตัวเลข 1 ใน 3 ของประชากรของโลกยังไม่สามารถเข้าถึงยาที่ม ...
    • การวิเคราะห์สถานการณ์การเข้าถึงยาจำเป็นในประเทศไทย : ความไม่สอดคล้องของนโยบาย 

      ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin; จีรภา โสสม; Jeerapa Sosom; มินตรา หงษ์ธำรง; Mintar Hongtumrong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ความไม่สอดคล้องของนโยบายที่เกี่ยวเนื่องกับการเข้าถึงยาจำเป็นในประเทศไทย โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ความสอดคล้องของนโยบาย (policy coherence analysis) ซึ่งเริ่มจากการรวบรวมนโยบายและกฎ ...
    • การศึกษาการขยายโครงการ Antibiotics Smart Use 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; วีรวรรณ แตงแก้ว; วินิต อัศวกิจวิรี; พิสนธิ์ จงตระกูล; กัญญดา อนุวงศ์; สมหญิง พุ่มทอง; เขมวดี ขนาบแก้ว; ณัชธญา นิลพานิชย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2552-09)
      โครงการการศึกษาการขยายโครงการ Antibiotics Smart Use (Antibotics Smart Use ปีที่ 2 หรือ ASU II) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบที่เหมาะสมและผลสัมฤทธิ์ในการขยายโครงการ ASU สู่ความยั่งยืนในการลดการใช้ยาปฏิชีวนะใน 3 โรคเป้าหมาย ...
    • การศึกษาขนาดและผลกระทบทางการคลังของการครอบครองยาเกินจำเป็นและการแก้ปัญหาเชิงนโยบาย 

      ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ์; ปิยะรัตน์ นิ่มพิทักษ์พงศ์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; ปิยะเมธ ดิลกธรสกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-05)
      ปัญหาค่าใช้จ่ายด้านยาที่สูงขึ้นเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญอันหนึ่งของประเทศไทย การครอบครองยาเกินจำเป็นเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ค่าใช้จ่ายด้านยาสูงขึ้นโดยไม่จำเป็น จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงได้ทำการศึกษานี้ขึ้นเพื่อ ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเพื่อเสริมสร้างการอภิบาลระบบยา 

      วุฒิสาร ตันไชย; Wuttisan Tanchai; สกนธ์ วรัญญูวัฒนา; Sakon Varanyuwatana; อรทัย ก๊กผล; Orathai Kokpol; วรรณภา ติระสังขะ; Vannapar Tirasangka; นรา แป้นประหยัด; Nara Panprayad; อัญชลี ห่วงทอง; Anchalee Huangtong; เอกวีร์ มีสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-05-30)
      ระบบอภิบาลยา (Pharmaceutical System) เป็นระบบที่มีความสำคัญต่อการบริหารทรัพยากรด้านสาธารณสุข แต่ก็เป็นระบบที่มีความสลับซับซ้อนและมีความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล ซึ่งในหลายประเทศความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาลของระบบยาในมิติของความโป ...
    • การสังเคราะห์บทบาทกระทรวงสาธารณสุขในระบบยาและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)
      สถานการณ์การคุ้มครองผู้บริโภคในประเทศไทย มีรายงานว่าผู้บริโภคมีความเสี่ยงสูงในการบริโภคผลิตภัณฑ์ และบริการโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ ประกอบกับการดำเนินงานทางด้านการคุ้มครองผู้บริโภคของภาคราชการยังไม่เต็มที่ ...
    • การสังเคราะห์วิสัยทัศน์ของประชาคมเภสัชกรสำหรับการปฏิรูประบบสาธารณสุขภาพ 

      คทา บัณฑิตานุกูล; Katha Bunditanukul; เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข; พัชราภรณ์ ปัญญาวุฒิไกร; รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; สุนทรี วัชรดำรงกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การสังเคราะห์วิสัยทัศน์ของประชาคมเภสัชกรสำหรับการปฏิรูประบบสุขภาพวัตถุประสงค์เพื่อระดมความคิดของประชาคมเภสัชกรเครือข่ายหลักและสังเคราะห์เป็นวิสัยทัศน์ของระบบสุขภาพแห่งชาติที่ต้องการเพื่อสังเคราะห์ให้เห็นบทบาทของเภสัชกรในมิติใหม่ ...
    • การเตรียมความพร้อมด้านระบบยา เวชภัณฑ์ และสิ่งของ เพื่อรองรับสถานการณ์ภัยพิบัติ 

      อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; ภาณุมาศ ภูมาศ; ดวงตา ผลากรกุล; พรพิมล จันทร์คุณภาส; ไพทิพย์ เหลือเรืองรอง; วรนัดดา ศรีสุพรรณ; ภัทร์อนงค์ จองศิริเลิศ; กิตติ พิทักษ์นิตินันท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการเตรียมความพร้อมในการดำเนินการดำเนินการจัดหาและสนับสนุนยาเวชภัณฑ์และสิ่งของในระหว่างการเกิดภัยพิบัติในรูปแบบต่างๆ ที่เคยเกิดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางสำหรับรองรับสถานการณ์ภัยพิบัติในอนาคต ...
    • ทบทวนสภาพปัญหาและการวิจัยเกี่ยวกับระบบยาของประเทศไทย : เอกสารประกอบการประชุมระดมสมองจัดทำแผนงานศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบยา 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; กระทรวงสาธารณสุข. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์; Misnistry of Public Health. Bureau of Health Policy and Strategy (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ระบบยามีองค์ประกอบย่อยอันได้แก่ องค์กร บุคคล กระบวนการ และการดําเนินกิจกรรมที่มีความหลากหลายและซับซ้อน นอกจากนี้ระบบยายังมีความสัมพันธ์กับปัจจัยทั้งภายในและภายนอกระบบสุขภาพในหลายลักษณะ ดังนั้น การพัฒนาระบบยาจึงจําเป็นต้อ ...