Now showing items 1-5 of 5

    • การจัดทำกลไกการบริหารจัดการและบริการแบบบูรณาการในพื้นที่เขตสุขภาพนำร่อง 

      รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง; Rapeesupa Wangcharoenrung; อนันตโชค โอแสงธรรมนนท์; Anantachoke Osangthammanont; ดาวุด ยูนุช; Dawud Unuch; ต้องการ จิตเลิศขจร; Tongkarn Jitlerdkajorn; สุทธิ สืบศิริวิริยะกุล; Sutthi Suebsiriviriyakul; ปนัสยา เทพโพธา; Panatsaya Thepphotha; ฉัตรวลี เมธาสถิตย์สุข; Chatwalee Maethastidsook; เศรษฐการ หงษ์ศิริ; Settakarn Hongsiri; วจิตรวดี พุกทอง; Jitwadee Puktong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การดำเนินการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ (1) เพื่อวิเคราะห์และจัดทำข้อเสนอมาตรการนำร่อง เพื่อสนับสนุนการทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาเขตสุขภาพนำร่อง (Regulatory Sandbox) รวมทั้งการกำหนดเกณฑ์/ตัวชี้วัดในการติดตามและประเมินผลการดำเนินการ ...
    • การพัฒนารูปแบบการบริการสุขภาพแบบวงจรยุคปกติวิถีใหม่ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่ตั้งอยู่บนเกาะ 

      ทัศนา บุญทอง; Tassana Boontong; วิไลวรรณ ทองเจริญ; Vilaivan Thongcharoen; อรพรรณ โตสิงห์; Orapan Thosingha; ศุภามณ จันทร์สกุล; Suphamon Chansakul; อโนรัตร เจนวิถีสุข; Anorut Jenwitheesuk; ชนินทร์ จักรภพโยธิน; Chanin Chakkrapopyodhin; อิศรา ผิวชัย; Isara Phiwchai; มัตติกา ใจจันทร์; Mattika Chaichan; รุ่งนภา เขียวชะอ่ำ; Rungnapha Khiewchaum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-04)
      งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบที่เหมาะสมในการบริการสุขภาพแบบครบวงจรในยุคปกติวิถีใหม่สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ที่ตั้งอยู่บนเกาะในประเทศไทย โดยใช้รูปแบบของการวิจัยและการพัฒนา เก็บข้อมูลด้ว ...
    • ถอดบทเรียนรูปแบบการดูแลทางไกลด้วยระบบแยกกักตัวที่บ้านในมุมของกำลังคนด้านสุขภาพ ในเขตสุขภาพที่ 12 

      วรัญญา จิตรบรรทัด; Waranya Jitbantad; ภัทรธิดา ฟองงาม; Pattaratida Fong-ngam; ขัตติยา เสมอภพ; Khattiya Samerpop; ไมซาเร๊าะ ขุนรักษ์ หมานระเด็น; Maisaroh Khunrak Manraden; ฮัสสัน จิตรบรรทัด; Hassan Jitbantad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ส่งผลให้อัตรากำลังคนด้านสุขภาพไม่เพียงพอต่อการดูแลผู้ติดเชื้อ ก่อให้เกิดรูปแบบการดูแลแบบแยกกักตัวที่บ้านและกลุ่มจิตอาสาด้านสุขภาพขึ้นโดยใช้รูปแบบการดูแลทางไกล การศึกษาครั้งนี้มีว ...
    • ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโรคเบาหวานภายหลังการระบาดของโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ไวรัสโควิด–19 ของหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในเขตภาคใต้ 

      รัถยานภิศ รัชตะวรรณ; Ratthayanaphit Ratchathawan; เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช; Benjawan Thanormchayatawat; บุญประจักษ์ จันทร์วิน; Boonprajuk Junwin; วัลลภา ดิษสระ; Wanlapa Dissara; นรานุช ขะระเขื่อน; Naranuch Karakhuean; วรรณรัตน์ จงเขตกิจ; Wannarat Jongkhetkit; สมฤดี อรุณจิตร; Somrudee Arunjit; ปิยะพร พรหมแก้ว; Piyaporn Promkaew; ดาลิมา สำแดงสาร; Dalima Samdaengsarn; วรนิภา กรุงแก้ว; Waranipa Krungkaew; ศิริวรรณ ชูกำเนิด; Siriwan Chukumnird; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; บุบผา รักษานาม; Buppha Raksanam; จิราภรณ์ ชูวงศ์; Jiraporn Choowong; จงกรม ทองจันทร์; Jongkrom Thongjan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      สถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 ส่งผลกระทบต่อระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานในมิติสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคตลอดจนการดูแลต่อเนื่อง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสถานการณ์และผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอาย ...
    • ระบบปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนความเป็นเลิศด้านชีวสารสนเทศทางการแพทย์ครบวงจร สำหรับภูมิภาคใต้ตอนล่าง ในเขตสุขภาพที่ 12 

      สุรศักดิ์ สังขทัต ณ อยุธยา; Surasak Sangkhathat; อมรรัตน์ พงศ์ดารา; Amornrat Phongdara; คมวิทย์ สุรชาติ; Komwit Surachat; ภาสรัตน์ คงขาว; Pasarat Khongkow; วิศลย์ เหล่าเจริญสุข; Wison Laochareonsuk; วันวิสาข์ มณีฉาย; Wanwisa Maneechay (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-05)
      โครงการวิจัย ระบบปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนความเป็นเลิศด้านชีวสารสนเทศครบวงจร สำหรับภูมิภาคใต้ตอนล่าง ในเขตสุขภาพที่ 12 (Operational system for excellence in medical bioinformatics for lower southern Thailand in health region ...