Now showing items 1-10 of 10

    • การพัฒนาอุปกรณ์เพื่อการคัดกรองการได้ยินในเด็กปฐมวัยที่เหมาะสม 

      พศิน อิศรเสนา ณ อยุธยา; Pasin Israsena; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; Panida Thanawirattananit; พรเทพ เกษมศิริ; Pornthep Kasemsiri; อนุกูล น้อยไม้; Anukool Noymai; สังวรณ์ ศรีสุทัศน์; Sangvorn Seesutas; ธราพงษ์ สูญราช; Tharaphong Soonrach; ศิวัตม์ สายบัว; Siwat Saibua (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      โครงการวิจัย เป็นการพัฒนาเครื่องมือเพื่อใช้คัดกรองการได้ยินในเด็กปฐมวัย ที่มุ่งเน้นให้สามารถคัดกรองได้อย่างรวดเร็ว แม่นยำ และมีราคาประหยัด โดยใช้เทคนิคการคัดกรองการได้ยินโดยการชี้ภาพที่สอดคล้องจากการฟังเสียงพูดภาษาไทย ...
    • การพัฒนาและหาค่าเกณฑ์มาตรฐานเครื่องมือประเมินการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย 

      นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล; Nuanchan Chutabhakdikul; Panadda Thanasetkorn; Orapin Lertawasdatrakul; นุชนาฏ รักษี; Nootchanart Ruksee; ปนัดดา ธนเศรษฐกร; อรพินท์ เลิศอวัสดาตระกูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560-01)
      การคิดเชิงบริหาร (Executive Functions) คือการทำหน้าที่ระดับสูงของสมองที่ช่วยให้เรากำกับตนเองเพื่อให้เกิดพฤติกรรมที่มุ่งสู่เป้าหมาย ทักษะการคิดเชิงบริหารพัฒนาอย่างมากในเด็กปฐมวัย เด็กที่มีการพัฒนาการคิดเชิงบริหารดีจะมีควา ...
    • การพัฒนาแอปพลิเคชันคุณลูกสำหรับหญิงตั้งครรภ์เพื่อส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก 

      รสวันต์ อารีมิตร; Rosawan Areemit; กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; Kunwadee Sripanidkulchai; เกียรติศักดิ์ คงวัฒนกุล; Kiattisak Kongwattanakul; สุชาอร แสงนิพันธ์กูล; Suchaorn Saengnipanthkul; นราทัศพล ลิขิตดี; Naratassapol Likitdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05-30)
      เด็กและวัยรุ่นเป็นวัยที่สำคัญเพราะเป็นอนาคตของประเทศชาติ การลงทุนตั้งแต่อยู่ในครรภ์ช่วยให้เกิดการตั้งครรภ์ที่มีคุณภาพ ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน ซึ่งเป็นจุดตั้งต้นที่จะช่วยให้ทารกที่เกิดมามีโอกาสที่จะมีสุขภาพแข็งแรง ...
    • การวิจัยเพื่อติดตามผลกระทบจากสารอาร์เซนิก แมงกานีส ไซยาไนด์ และฟื้นฟูภาวะบกพร่องทางสติปัญญา กระบวนการรู้คิด และการเรียนรู้ในเด็กประถมศึกษาปีที่ 4-6 

      นุชนาฎ รักษี; Nootchanart Ruksee; อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์; Adisak Plitponkarnpim; ธีรตา ขำนอง; Thirata Khamnong; ศรัล ขุนวิทยา; Sarun Kunwittaya; อธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล; Athiwat Jiawiwatkul; วสุนันท์ ชุ่มเชื้อ; Vasunun Chumchua; พิไลวรรณวดี หุตะเมขลิน; Pilaiwanwadee Hutamekalin; กันนิกา เพิ่มพูนพัฒนา; Kannika Permpoonputtana; นนทสรวง กลีบผึ้ง; Nonthasruang Kleebpung; อรพินท์ เลิศอวัสดาตระกูล; Orapin Lertawasdatrakul; กรณัฐ โรจน์ไพรินทร์; Karanat Rodpairin; กนกพร ดอนเจดีย์; Khanokporn Donjdee; นันทนัช สงศิริ; Nanthanat Songsiri; สาลินี จันทร์เจริญ; Salinee Janjaroen; วินันดา ดีสวัสดิ์; Winanda Deesawas; ศิวลี โกศลศศิธร; Siwalee Kosonsasitorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)
      ยุทธศาสตร์การศึกษาของชาติเน้นการพัฒนาศักยภาพเด็กไทยทุกคนให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 หมายรวมถึงเด็กในพื้นที่เสี่ยงจากอุตสาหกรรมโลหะหนัก จากการศึกษาในปี พ.ศ. 2559 พบมีอุบัติการณ์การรับสัมผัสสารหนูอนินทรีย์ในปัสสาวะในเด็ก ร้อยละ ...
    • การวิจัยและพัฒนาหลักสูตรออนไลน์แบบเปิดขนาดใหญ่สำหรับครูและผู้ดูแลเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี 

      เทพลักษ์ ศิริธนะวุฒิชัย; Teabpaluck Sirithanawuthichai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-04)
      ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรออนไลน์แบบเปิดขนาดใหญ่สำหรับครูและผู้ดูแลเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี เป็นชุดรายวิชาที่พัฒนาขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยหรือเด็กที่มีช่วงอายุระหว่าง 0-3 ปี ...
    • การวิเคราะห์ช่องว่างนโยบายการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในประเทศไทย 

      โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ; Chosita Pavasuthipaisit; ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sringernyuang; กรรณิการ์ ดาโลดม; Kannika Dalodom; ศิริกาญจน์ ศิริอินต๊ะ; Sirikarn Siriinta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      ในภาพรวมสถานการณ์พัฒนาการเด็กไทยในช่วง 10 ปี ที่มีการดำเนินการนโยบายพัฒนาการเด็กปฐมวัยมาอย่างต่อเนื่อง (2554-2564) แต่ยังพบหลายปัจจัยที่มีผลต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่ดำเนินการได้ยังไม่เต็มประสิทธิภาพและข้อมูลผลล ...
    • ผลกระทบของสื่อดิจิทัลที่มีผลต่อพัฒนาการมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 

      นนทสรวง กลีบผึ้ง; อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์; Adisak Plitponkarnpim; ธีรตา ขำนอง; Thirata Khamnong; อรพินท์ เลิศอวัสดาตระกูล; Orapin Lertawasadatrakul; นุชนาฏ รักษี; Nootchanart Ruksee; กันนิกา เพิ่มพูนพัฒนา; Kannika Permpoonputtana; วสุนันท์ ชุ่มเชื้อ; Vasunun Chumchua; Nonthasruang Kleebpung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      ปัจจุบันเด็ก เยาวชน และครอบครัวสามารถเข้าถึงอุปกรณ์ดิจิทัล ได้แก่ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์พกพาส่วนตัว และเลือกใช้สื่อเพื่อตอบสนองความต้องการในการใช้งานและเปิดรับข้อมูลข่าวสารได้อย่างไม่มีขีดจำกัดและยากต่อการควบคุม ...
    • สถานะสุขภาพของเด็กปฐมวัยไทย : รายงานการทบทวนองค์ความรู้ 

      ลัดดา เหมาะสุวรรณ; Ladda Mo-suwan; สมจิตร์ จารุรัตนศิริกุล; ถนอมศรี อินทนนท์; ปิยะธิดา ขจรชัยกุล; ประสิน จันทร์วิทัน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      Health status of Thai infants & preschool childrrn: a reviewThis report is a 10-year-retrospective review of health status of Thai infants and preschool children. Literature search was done through three electronic publication ...
    • อิทธิพลของธุรกิจต่อสถานเลี้ยงดูเด็กและพ่อแม่ : ศักยภาพที่จะมีผลต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย 

      ลัดดา เหมาะสุวรรณ; Ladda Mo-suwan; ธิดารัตน์ กำลังดี; ยุพาวดี สมบูรณกูล; ศิริกูล อิศรานุรักษ์; พิมภา สุตรา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      อิทธิพลของธุรกิจต่อสถานเลี้ยงดูเด็กและพ่อแม่ : ศักยภาพที่จะมีผลต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ เพื่อศึกษาศักยภาพของความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจ-สถานเลี้ยงดูเด็ก-พ่อแม่ ที่จะมีผลต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย วิธีวิจัย ...
    • แพลตฟอร์มแอปพลิเคชันคุณลูกสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพ 

      กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; Kunwadee Sripanidkulchai; รสวันต์ อารีมิตร; Rosawan Areemit; สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; สุชาอร แสงนิพันธ์กูล; Suchaorn Saengnipanthkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      เด็กและวัยรุ่นเป็นวัยสำคัญที่สมองและร่างกายของเด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สถานการณ์พัฒนาการของเด็กไทยวัย 0-5 ปี ยังพบว่า ปัญหาพัฒนาการล่าช้ายังเป็นปัญหาสำคัญ ซึ่งหากเด็กและวัยรุ่นได้รับการเลี้ยงดูและสร้างเ ...