Show simple item record

National Health Statute and Overarching Framework for Health System Development in Brazil, United States of America, United Kingdom: Lessons for Thailand

dc.contributor.authorศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์en_US
dc.contributor.authorหทัยชนก สุมาลีth_TH
dc.contributor.authorHathaichanok Sumaleeen_EN
dc.contributor.authorSiriwan Pitayarangsariten_EN
dc.contributor.authorลลิดา เขตต์กุฎีth_TH
dc.contributor.authorLalida Khetkudeeen_EN
dc.contributor.authorเยาวลักษณ์ จิตตะโคตร์th_TH
dc.contributor.authorYaowalak Jittakoaten_EN
dc.contributor.authorวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียรth_TH
dc.contributor.authorViroj Tangcharoensathienen_EN
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2008-09-19T08:44:19Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:23:57Z
dc.date.available2008-09-19T08:44:19Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:23:57Z
dc.date.issued2551-04en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551) : 206-225en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/99en_US
dc.description.abstractบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ เป็นกฎหมายแม่บทด้านสุขภาพ มุ่งหวังเพื่อให้เป็นเครื่องมือของทุกฝ่ายในสังคมใช้ร่วมกัน โดยวางยุทธศาสตร์เพื่อเปิดทางให้ทุกฝ่ายในสังคมเป็นเจ้าของ ดูแลรับผิดชอบร่วมกัน และกำหนดให้ตราธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติขึ้น เพื่อให้ทุกฝ่ายใช้อ้างอิง, ใช้เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนสังคม และให้ปรับปรุงทุก 5 ปี การศึกษานี้เป็นการทบทวนเอกสาร เพื่อถอดบทเรียนจากประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ ที่เกี่ยวกับการจัดทำแนวนโยบายและยุทธศาสตร์เพื่อการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ, วิวัฒนาการและบริบท, กระบวนการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ โดยมุ่งวิเคราะห์ตัวอย่างของเอกสารที่อาจเทียบเคียงได้กับธรรมนูญสุขภาพ ในประเด็นขอบเขตและสาระสำคัญของเนื้อหาในเอกสาร, กระบวนการจัดทำเอกสาร และบทบาทหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้อง. การศึกษาพบดังนี้ วิวัฒนาการการปฏิรูประบบสุขภาพในประเทศบราซิล และอังกฤษ เริ่มมาตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2, โดยมีแนวคิดการสร้างหลักประกันทางสังคมให้กับคนทำงานก่อน ต่อมาจึงเปลี่ยนเป็นการให้หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ซึ่งมีฐานคิดในเรื่อง "สุขภาพเป็นสิทธิ", ในขณะที่ประเทศสหรัฐยังโต้เถียงในแนวคิดนี้อยู่. ในปัจจุบัน กรอบแนวคิดเรื่องสุขภาพของบราซิลยังจำกัดอยู่ในเรื่องการพัฒนาระบบบริการสุขภาพและระบบสาธารณสุขพื้นฐาน ในขณะที่ประเทศไทยมองไปถึงการจัดการปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อมที่มากระทบต่อสุขภาพแล้ว. ส่วนสหรัฐฯ ก็ได้ปฏิรูปในส่วนของการจัดวางระบบสาธารณสุขเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันด้านสุขภาพให้กับคนในชาติด้วยการจัดการที่ระดับมลรัฐและท้องถิ่น ส่วนประเทศอังกฤษพัฒนาให้มีกองทุนหุ้นส่วนบริการปฐมภูมิ (Primary care trusts) ดูแลงานสุขภาพแบบบูรณาการในท้องถิ่น โดยดูทั้งบริการสุขภาพส่วนบุคคล และงานสาธารณสุขทั่วไป. และมองการแก้ปัญหาเชื่อมโยงกับงานด้านที่อยู่อาศัย, การจ้างงาน และการศึกษาด้วย ประสบการณ์ของต่างประเทศ อาทิ ประเทศบราซิลใช้รัฐธรรมนูญเป็นกรอบแนวทางในการกำหนดระบบสุขภาพ ตั้งแต่ พ.ศ. 2531 และมีการใส่เนื้อหาของการปฏิรูปที่ต้องการให้มีผลบังคับใช้ในรัฐธรรมนูญที่ปรับปรุงใหม่ทุกครั้ง ส่วนประเทศสหรัฐอเมริกาได้กระจายอำนาจให้กับมลรัฐดูแลงานสาธารณสุข, ไม่พบกรอบธรรมนูญแห่งชาติ (national overarching framework). ความคิดริเริ่มในการปฏิรูประบบสาธารณสุขที่ระดับมลรัฐในโครงการ "จุดเปลี่ยน" ได้กระตุ้นให้หลายมลรัฐทำแผนสุขภาพของมลรัฐ ที่เป็นกรอบธรรมนูญสาธารณสุข และทำกฎหมายแม่แบบด้านการสาธารณสุขระดับมลรัฐที่ทันสมัยด้วย ส่วนประเทศอังกฤษมีกฎหมายสาธารณสุข ฉบับแรกตั้งแต่ พ.ศ. 2418 กำหนดให้ท้องถิ่นมีบทบาทด้านการสาธารณสุขตั้งแต่นั้นมา ซึ่งพูดถึงการควบคุมความเสี่ยงด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมด้วย และมีการปรับปรุงกฎหมายได้พัฒนาเป็นเรื่องๆ ไป เช่น พบว่ามีเรื่องการควบคุมการสูบบุหรี่อยู่ในกฎหมายสุขภาพฉบับ พ.ศ. 2549 แม้ไม่มีกรอบธรรมนูญ (overarching statutory framework) แต่รัฐบาลอังกฤษ ในสมัยของมาร์กาเรต แธตเชอร์ จัดทำแผนสุขภาพที่บูรณาการเพื่อลดโรค (พ.ศ. 2535) เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และพัฒนาเรื่อยมา จนเป็นแผนที่ 3 เน้นการมีส่วนร่วมของบุคคลและชุมชน ที่เรียกว่า "Our Health, Our Care, Our Say" ใน พ.ศ.2549th_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleกรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนระบบสุขภาพในประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร: บทเรียนสำหรับการจัดทำรัฐธรรมนูญสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2551en_US
dc.title.alternativeNational Health Statute and Overarching Framework for Health System Development in Brazil, United States of America, United Kingdom: Lessons for Thailanden_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeIn the contemporary development of the Thai national framework for health system development, this report has drawn the experience of Brazil, the United States of America, and the United Kingdom for lessons to be learned for Thailand. The study was conducted using document analysis carried out during August to December 2007, by searching available information from the Internet. Data sources were from published literature, the media and the websites of several organizations. The study found that histories, political changes and reform initiatives have influenced the route of health system development of different countries in different ways. Brazil, which had been under military dictatorship for a long time during the period 1964-1985, has established a supporting mechanism for people’s participation in health reform agenda-setting and health policy formulation. Widened participation successfully pushed the concept of human rights in health care to be adopted in the 1988 Thai Constitution. Since then universal access to health care has been established and financed with taxes. Every new reform direction which has been adopted in the national health conference was incorporated to revisions of the 1988 Constitution. The USA case presents a model of decentralization in health system development. The federal government supported states in extending the coverage of health-care access. A collaborative project involving academics and state governments called “Turning Point Initiative” formulated a model of the overarching public health framework and formulated the “Model State Public Health Act” which provides initiative ideas for the states to develop their own laws and development plans with a collaboration from for all stakeholders in the state. The UK case presents long experience with centralized management for controlling universal access, achieved since after the World War II. Several reforms were introduced to tackle with the cost escalation and system irresponsiveness (long queues for elective surgery, for example). Current issues include a balance of the centralized policy and decentralized management. Thailand passed the National Health Act in January 2007 with the aim of establishing national health governance which promotes the role of individuals and civil societies in participating in health policy development and system monitoring and evaluation. Brazil’s experience in the supporting mechanism for people’s participation is useful for Thailand for comparison with the Thai national health assembly and for gaining knowledge for strengthening the role of civil societies in health policy development. The experience of the USA in collaborative work among academics, state officials, and the private sector would seem to be fruitful in the promotion of the deliberative policy process of health system development. An experiment in a different context, such as in Thailand, should be practical. The UK’s experience shows the transitions from the state’s responsibilities in people’s health to the community’s and individual’s choices in health care. This reflects the direction of sharing responsibilities in society which Thailand has pursued in this era of health system reform. This study suggested that, in the Asian context, Thailand could adapt, but not adopt, some good concepts and procedures in health system development from these three countries in order to establish a reform mechanism and an overarching health system framework with a particular characteristic based on the wisdom of Thais.en_EN
dc.subject.keywordระบบสุขภาพen_US
dc.subject.keywordบราซิลen_US
dc.subject.keywordสหรัฐอเมริกาen_US
dc.subject.keywordสหราชอาณาจักรen_US
dc.subject.keywordธรรมนูญสุขภาพแห่งชาติen_US
dc.subject.keywordNational Health Statuteen_US
dc.subject.keywordOverarching Frameworken_US
dc.subject.keywordHealth System Developmenten_US
.custom.citationศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์, หทัยชนก สุมาลี, Hathaichanok Sumalee, Siriwan Pitayarangsarit, ลลิดา เขตต์กุฎี, Lalida Khetkudee, เยาวลักษณ์ จิตตะโคตร์, Yaowalak Jittakoat, วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร and Viroj Tangcharoensathien. "กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนระบบสุขภาพในประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร: บทเรียนสำหรับการจัดทำรัฐธรรมนูญสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2551." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/99">http://hdl.handle.net/11228/99</a>.
.custom.total_download647
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month13
.custom.downloaded_this_year31
.custom.downloaded_fiscal_year68

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v2n2 ...
Size: 361.9Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record