แสดงรายการ 4641-4660 จาก 5899

    • ระบบประกันสุขภาพ : องค์ประกอบและทางเลือก 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจตราศิลป์; Sauwakon Ratanawijitrasin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      นโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรค เป็นความพยายามในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับประชาชนทุกคน จากการที่ได้ติดตามประเด็นที่มีการอภิปรายในช่วงระยะเวลา 2 ปี ที่ผ่านมา ทั้งในวงการสาธารณสุข วงการนิติบัญญัติ ตลอดจนความเห็นสาธารณะ ...
    • การสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ปี พ.ศ.2535 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; สุกัลยา คงสวัสดิ์; นวลอนันต์ ตันติเกตุ; ศศิเพ็ญ โมไนยกูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      การสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ปีพศ.2535 การสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ได้ใช้กรอบตัวอย่างโรงพยาบาลและสถานพยาบาลที่มีเตียงจำนวนทั้งสิ้น 320 แห่ง จากกองการประกอบโรคศิลปะในช่วงต้นปีงบประมาณ พศ. 2535 โดยทอดแบบสอบถาม ...
    • ความเป็นไปได้ของแหล่งเงินต่างๆ ตามมาตรา 39 ในพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ในทัศนะของผู้สันทัดกรณี 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Chitpranee Vasavid; Kanjana Tisayaticom; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      แหล่งการเงินของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในขณะนี้มาจากการจัดทำคำขอจากเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลโดยเลือกใช้การจัดทำงบประมาณปลายปิดด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวคูณกับจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียน จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ...
    • ระบบบริการสุขภาพและหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุประเทศญี่ปุ่น 

      วรรณภา ศรีธัญรัตน์; Wannapa Srithanyarat; ผ่องพรรณ อรุณแสง; กัลยา พัฒนศรี; เพ็ญจันทร์ เลิศรัตน์; รัชมล คติการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      ในกระบวนการสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับระบบบริการสุขภาพและการสร้างหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุของประเทศไทยและประเทศที่คัดสรร ได้แก่ อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น สิงคโปร์ เพื่อจัดทำข้อเสนอในการปฏิรูปและการ ...
    • การจัดการเทคโนโลยีทางการแพทย์ประเภทคุรุภัณฑ์ราคาแพง : การทบทวนองค์ความรู้ระดับนโยบาย 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; ชาญวิทย์ ทระเทพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      การศึกษานี้เป็นงานวิจัยเอกสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทบทวนข้อมูลและวรรณกรรมเชิงวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข และการจัดการเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่มีการศึกษาในประเทศไทย รวบรวมข้อเสนอแนะจากงานวิจัยเชิงเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ...
    • การปฏิรูปบทบาทภารกิจเพื่อการจัดการสาธารณสุข 

      ไพโรจน์ ภัทรนรากุล; Pairote Pathranarakul; ทัศนีย์ ขันติยาภรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การปฏิรูปบทบาทภารกิจเพื่อการจัดการสาธารณสุข การศึกษาวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงนโยบายที่มุ่งสู่เป้าหมายและการปฏิบัติ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเสนอแนวทางปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจ และระบบบริหารภาครัฐด้านการจัดการสาธารณสุข และเพื่อกำห ...
    • การทบทวนกระบวนทัศน์เรื่องความตายกับมิติแห่งสุขภาวะ 

      ธนา นิลชัยโกวิทย์; Tana Nilchaigowit; วริสรา กริชไกรวรรณ; วรรณา จารุสมบูรณ์; พรเลิศ ฉัตรแก้ว; Warisara Krikhaiwan; Wanna Jarusomboon; Pornlert Charkaeow (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      โครงการนี้เป็นหัวข้อหนึ่งของการศึกษาทบทวนกระบวนทัศน์สุขภาพซึ่งหยิบยกเอาประเด็นเรื่องความตายและการจัดการความตายขึ้นมาพิจารณา โดยคาดหวังว่าผลการศึกษานี้จะเป็นจุดเริ่มต้นให้ผู้คนในสังคมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหันมาทบทวนแนวค ...
    • ระบบบริการสุขภาพชุมชน : โครงการ กรุงเทพ 7 

      จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์; Chulalongkorn University. Faculty of Medicine; สำนักอนามัย กทม. ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ 6 (ลุมพินี); สภากาชาดไทย. โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์; สภากาชาดไทย. วิทยาลัยพยาบาล; จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสังคม; Bangkok Metropolitan Administration. Health Department; The Thai Red Cross Society, King Chulalongkorn Memorial Hospital; Nursing Collage of the Thai Red Cross; Chulalongkorn University. Social Research Institute (Faculty of Medicine Chulalongkorn University, 2546)
      ในศตวรรษที่ 21 สิ่งท้าทายใหม่ๆ ทางสุขภาพและชีวิตความเป็นอยู่ของสังคมไทยที่กำลังปรากฏให้เห็นคือ ความรวดเร็วของการสูงอายุของประชากร การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของโรคจากปัญหาโรคติดต่อที่เป็นปัญหาหลักทางสุขภาพมาเป็นโรคไม่ติดต่อ ...
    • พฤติกรรมจราจรของผู้ใช้รถใช้ถนนใน 8 จังหวัด ของประเทศไทย ปี พ.ศ.2535-2536 

      ปรากรม วุฒิพงศ์; Prakom Wuthiwong; จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ; อรุณ จิรวัฒน์กุล; วิพุธ พูลเจริญ; วินัย สวัสดิวร (กระทรวงสาธารณสุข ; คณะกรรมการระบาดวิทยาแห่งชาติ, ม.ป.ป.)
      การศึกษาวิจัยพฤติกรรมจราจรของผู้ใช้รถใช้ถนนใน 8 จังหวัด ของประเทศไทย ปี พ.ศ.2535-2536การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาระดับความรู้ ความเข้าใจต่อกฏจราจรที่สำคัญต่อการใช้รถใช้ถนนของผู้ขับขี่รถประเภทต่าง ๆ ...
    • สถานะสุขภาพของลูกแรงงานข้ามชาติย้ายถิ่น ที่จังหวัดระนอง 

      ลดาวัลย์ ประทีปชัยกูร; Ladawan Prathipchaikul; ถนอมศรี อินทนนท์; สมชาย วงศ์เจริญยง; อภิรดี แซ่ลิ่ม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • ภาคเอกชนกับการให้บริการสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุในประเทศไทย 

      วาทินี บุญชะลักษี; Watinee Boonchaluksi; ยุพิน วรสิริอมร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ความต้องการบริการสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุในประเทศไทยเพิ่มสูงขึ้นเป็นลำดับ เนื่องจากประชากรกลุ่มนี้มีจำนวนเพิ่มขึ้นและมีแนวโน้มที่จะมีอายุยืนยาวขึ้น ความต้องการที่เพิ่มขึ้นไม่สอดคล้องกับหน่วยงานหรือสถานบริการของภาครัฐที่ให้บริการ ...
    • กฏบัตรออตตาว่าด้วยการสร้างเสริมสุขภาพและข้อเสนอแนะต่อนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ 

      ดวงใจ รุ่งโรจน์เจริญกิจ; Duangchai Rungrotcharoenkit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      คําประกาศอัลมา-แอตตา (The Declaration of Alma-Ata) ในทศวรรษที่ผ่านมาถือเป็นก้าวสําคัญในการเคลื่อนไหวเรื่อง สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All) นับตั้งแต่มีการเริ่มต้นประชุมสมัชชาสุขภาพโลกเมื่อค.ศ. 1977 การเคลื่อนไหวครั้งนี ...
    • ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสำหรับ Catastrophic illness and catastrophic insurance development in Thailand 

      สุคนธา คงศีล; Sukhontha Kongsin (คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2540)
    • การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศจังหวัดยโสธร 

      สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร; Yasothorn Provincial Health Office
      สภาวะสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม การบริหารงานสาธารณสุขในทุกระดับจึงจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลข่าวสารที่มีความถูกต้อง ครอบคลุม ครบถ้วน เชื่อถือได้ และทันต่อเหตุการณ์ ...
    • การวัดระดับความสูญเสียจากโรคที่กระทบต่อสังคมไทย : แนวการจัดลำดับปัญหาสุขภาพ 

      บุรณัชย์ สมุทรักษ์; Buranaj Smutharaks; ประวุฒิ เวชรักษ์; รวมพร คงกำเนิด; จิตร สิทธีอมร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
      การวัดระดับภาระจากโรคที่กระทบต่อสังคมไทย :แนวทางการจัดลำดับปัญหาสุขภาพวัตถุประสงค์ในการวิจัย เพื่อศึกษาถึงระดับภาระจากโรค (Burden of Disease) ที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยโดยผลที่จะได้รับจากการศึกษาเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลเบื้องต ...
    • การประเมินรูปแบบบริการที่จัดให้ผู้สูงอายุในชุมชน : เน้นการให้บริการของศูนย์สงเคราะห์ราษฎรประจำหมู่บ้าน 

      ธัญญา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา; Thanya Sanitwongse Na Ayuttaya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจสภาพสังคมและบริการสังคมที่มีอยู่ในชุมชนที่ผู้สูงอายุได้รับ โดยเน้นการให้บริการของศูนย์สงเคราะห์ราษฎรประจำหมู่บ้าน ทั้งด้านปริมาณของบริการและคุณภาพ การศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ปัญหา ...
    • ระบบโครงสร้างและกลไกในการอนุรักษ์ พัฒนาและคุ้มครองภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท : มาตรการด้านการเงิน 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; Ampawan Srivilai; อัมพวรรณ ศรีวิไล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      หนึ่งในสาเหตุสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่ทำให้การพัฒนาภูมิปัญญาสุขภาพไทยต้องขาดช่วงไปเกือบหนึ่งศตวรรษ คือการขาดระบบการศึกษาที่เกื้อหนุนการสืบทอดและพัฒนาองค์ความรู้ให้เหมาะกับยุคสมัย การแพทย์ไทยและการแพทย์พื้นบ้านถูกทอดทิ้งให ...
    • แนวคิดของสังคมต่อหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      สุภาภรณ์ เตโชวาณิชย์; Supaporn Techowanit (มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)
      ปี พ.ศ. 2544 รัฐบาลประกาศสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่ประชาชนทุกคน ตามโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ครอบคลุมขอบเขตทั่วประเทศอย่างรวดเร็ว ทำให้ประชาชนทุกคนมีความรับรู้และเข้าใจใกล้ชิดกับนโยบายฯ แตกต่างจากเมื่อปี พ.ศ. 2542 ...
    • การประชุมระดับโลกว่าด้วยการสร้างเสริมสุขภาพครั้งที่ 6 ณ กรุงเทพฯ ประเทศไทย7-11 สิงหาคม2548 : เอกสารแปลสำหรับประกอบการประชุม 

      แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ; เบญจรัตน์ แซ่ฉั่ว, ผู้แปล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
    • ระบบบริการสุขภาพและหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุประเทศไทย 

      วรรณภา ศรีธัญรัตน์; Wannapa Srithanyarat; ผ่องพรรณ อรุณแสง; กัลยา พัฒนศรี; เพ็ญจันทร์ เลิศรัตน์; รัชมล คติการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      ในกระบวนการสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับระบบบริการสุขภาพและการสร้างหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุของประเทศไทยและประเทศที่คัดสรร ได้แก่ อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น สิงคโปร์ เพื่อจัดทำข้อเสนอในการปฏิรูปและการ ...