Now showing items 4901-4920 of 5792

    • การปฏิรูประบบสาธารณสุขในประเทศสหราชอาณาจักร สวีเดน และเนเธอร์แลนด์ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (2537)
      เมื่อวันที่ 24 มกราคม ถึง 1 กุมภาพันธ์ 2537 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข พร้อมด้วยคณะผู้บริหารระดับสูงและนักวิชาการ จำนวน 33 คน ได้ไปศึกษาดูงานการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุขของ 3 ประเทศในทวีปยุโรป ผู้เขียนซึ่งเป็นหนึ่งใน ...
    • เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข-กลยุทธ์ใหม่ในการพัฒนาสาธารณสุข 

      สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; Suwit Wibulpolprasert (2537)
      เศรษฐศาสตร์เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งสำหรับพัฒนาทางเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขก็เป็นเครื่องมือที่สำคัญอย่างหนึ่งสำหรับการพัฒนาสาธารณสุข ผู้เขียนปูพื้นเรื่องนี้อย่างง่ายๆ โดยอาศัยข้อมูลจริงมาประกอบ แม้ว่าได้เขียนไว้นานพอสมควรแล้ว ...
    • การเปลี่ยนแปลงบทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนในระบบสาธารณสุข 

      ดำรงค์ บุญยืน; Damrong Boonyoen (2537)
      ปัจจุบันกระแสความเปลี่ยนแปลงในยุคโลกานุวัตรเชี่ยวกรากมาก ระบบสาธารณสุขทั่วโลกก็ถูกกระทบรุนแรงตามไปด้วย ผู้เขียนได้นำเสนอปัญหาและประเด็นสำคัญเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของระบบสาธารณสุขในเชิงแนวคิด และกลวิธีสำคัญบางประการ ...
    • การใช้การวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในระดับพื้นที่ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2537)
      เป็นความพยายามของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขที่จะส่งเสริมให้ผู้บริหารงานสาธารณสุขในพื้นที่ ได้ใช้งานวิจัยระบบสาธารณสุขเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการบริหารงานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด สถาบันฯ ได้ให้การสนับสนุนโครง ...
    • ข้อมูลและสถิติการสูบบุหรี่ของคนไทย 

      มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ (2541)
    • ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการเฝ้าระวังสถานที่และผลิตภัณฑ์: กรณีศึกษาการแพร่ระบาดของยาเม็ดสเตียรอยด์ 

      ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์ (2541)
      ในขณะที่ยาเม็ดสเตียรอยด์ถือเป็นยาควบคุมพิเศษที่อนุญาตให้ขายได้เฉพาะตามใบสั่งแพทย์และร้านขายยาที่มีเภสัชกรปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น เพราะเป็นยาที่มีอันตรายจากผลข้างเคียงสูงมาก แต่ในความเป็นจริง เส้นทางของยาสเตียรอยด์ในประเทศ ...
    • งานวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพสตรีไทยระหว่างปี พ.ศ. 2526-2537 

      ศิริพร จิรวัฒน์กุล (2541)
      งานวิจัยที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับสุขภาพของสตรีไทยในรอบ 12 ปี (พ.ศ.2526-2537) ที่ผ่านมานั้นมีด้วยกันทั้งสิ้น 564 เรื่อง พบว่าส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 95.04 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ในขณะที่มีงานวิจัยเชิงคุณภาพเพียงร้อยละ 3.9 หรือเพียง ...
    • ทางสองแพร่งของผู้ต้องขังกับการใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข 

      สมศักดิ์ ธรรมธิติวัฒน์ (2541)
      สถานการณ์ทางสองแพร่งของผู้ต้องขัง (Prisoner's Dilemma) ในบริบทของการจัดหาเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขในบทความนี้ หมายถึง สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อผู้กำหนดนโยบายในการจัดหาทรัพยากรของสถานบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขต่ ...
    • การลงทุนในเด็ก 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ (2541)
      จากการศึกษาของธนาคารโลกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 เป็นต้นมา ได้ข้อสรุปว่า การพัฒนาเด็กตั้งแต่เริ่มมีพัฒนาการจะช่วยทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของเด็ก โดยเฉพาะเด็กด้อยโอกาสและครอบครัวมีสภาพดีขึ้น อันจะส่งผลให้สุขภาพชีวิตของสังคมดีขึ้นตามไปด้วย ...
    • ภาพชีวิต สถานการณ์ทางสังคมและสาธารณสุขของคนงานก่อสร้างไทย 

      ศิริพร จิรวัฒน์กุล (2541)
      สถานการณ์ทางสังคมของคนงานก่อสร้างอยู่ในวงจรแห่งความชั่วร้าย คือ ด้อยโอกาส ด้อยการศึกษา ไร้ฝีมือ ค่าแรงต่ำ และยากจน เป็นวิธีชีวิตของคนที่ขาดคุณภาพชีวิต ทั้งด้านกายภาพ จิตใจ และสังคม ไม่ว่าในกลุ่มคนงานก่อสร้างเอง ...
    • การพยากรณ์แบบแผนการเจ็บป่วยและความต้องการแพทย์ในอนาคต 

      มัทนา พนานิรามัย; สมชาย สุขสิริเสรีกุล (2539)
      จากข้อมูลภาวะการเจ็บป่วยและการใช้บริการจากแพทย์ในปัจจุบัน สามารถนำมาวิเคราะห์และฉายภาพแบบแผนความเจ็บป่วย และความต้องการพบแพทย์ในอนาคต โดยพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากร และเศรษฐกิจ สังคม ประกอบ อันจะนำไปสู่กา ...
    • เครือข่ายร้านยา-โรงพยาบาลในระบบบริการสาธารณสุขแบบครบวงจร 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์ (2541)
      คำว่า "ระบบบริการสาธารณสุขครบวงจร (Integrated Health Service System)" เป็นแนวคิดใหม่ที่เพิ่งเกิดขึ้นภายในทศวรรษนี้ หมายถึงรูปแบบบริการสาธารณสุขที่ประกอบด้วยบริการหลากหลาย ซึ่งจัดโดยหน่วยบริการหลายหน่วย แต่มีการประสานเชื่ ...
    • โครงการศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาจากการบริจาคยาเพื่อผู้ป่วยอนาถา โรงพยาบาลเลิดสิน 

      สุวรรณี เจริญพิชิตนันท์ (2541)
      ข้อมูลที่น่าสนใจที่ได้จากการจัดทำโครงการบริจาคยาเพื่อผู้ป่วยอนาถาของโรงพยาบาลเลิดสิน ก็คือ หลังจากที่แพทย์ได้สั่งยาให้ผู้ป่วยแล้ว มักมีผู้ป่วยจำนวนมากโดยเฉพาะผู้ป่วยสูงอายุใช้ยาไม่หมดตามแพทย์สั่ง ซึ่งนอกจากจะละเลยต่อการด ...
    • การประเมินผลโครงการวิจัยและพัฒนาศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ตอนที่ 1 การประเมินคุณภาพบริการ 

      รุจิรา มังคละศิริ (2541)
      การประเมินผลโครงการวิจัยและพัฒนาศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา เป็นการประเมินคุณภาพบริการของศูนย์แพทย์ชุมชนซึ่งจัดเป็นสถานบริการขั้นปฐมภูมิในเขตเมืองนครราชสีมา ในประเด็นของการเข้าถึงบริการ ความพึงพอใจในบริการ ...
    • แผนสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2537)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ได้จัดทำแผนของสถาบันฯ สำหรับปีงบประมาณ 2536-2539 ขึ้น ซึ่งมีสาระสำคัญปรากฏในบทคัดย่อสำหรับผู้บริหารที่นำเสนอนี้ เอกสารฉบับสมบูรณ์สามารถขอรับได้จากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
    • นโยบายกับการวิจัย คู่สร้างคู่สมจริงหรือ (ตอน 1) 

      สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (2541)
      คำถามที่มีผู้สนใจมากเป็นพิเศษก็คือ มีการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนานโยบายอยู่มากน้อยเพียงใด ซึ่งความจริงแล้ว งานวิจัยใดๆ ก็ตามที่ถูกผู้กำหนดนโยบายหยิบยกผลการวิจัยและข้อเสนอไปพิจารณาอย่างจริงจัง แม้จะไม่เห็นด้วย ...
    • ทางสองแพร่ง (Dilemmas) ประเด็นจริยธรรมในการวิจัยทางสังคมศาสตร์สาธารณสุข 

      อรทัย รวยอาจิณ (2541)
      โดยทั่วไปในการทำวิจัย สิ่งที่นักวิจัยมักจะให้ความสำคัญมากที่สุดก็คือ ความถูกต้องตามหลักระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) และการบริหารงานวิจัยไม่ให้เกิดข้อบกพร่องเพื่อให้ผลการวิจัยสมบูรณ์มากที่สุด ดังนั้น บางครั้งจึ ...
    • ระบบข้อมูลข่าวสารเพื่อตัดสินใจให้เกิดประสิทธิภาพ โรงพยาบาลพุทธชินราช 

      จรัล ใจแพทย์; ลิขิต อินทราลักษณ์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (2541)
      การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารโดยใช้คอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาลพุทธชินราช เป็นการวิจัยปฏิบัติการที่มุ่งวิเคราะห์ระบบข้อมูลของโรงพยาบาลและเสนอแนวทางการพัฒนาระบบให้สามารถนำไปใช้ในการบริหารโรงพยาบาลได้ โดยที่มีการประเมินด้วยว่าระบบข ...
    • ประสบการณ์การจัดซื้อเวชภัณฑ์ กรณีศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 

      สมชัย วิโรจน์แสงอรุณ; จาตุรัตน์ วุฒิวรศิริ (2541)
      จากประสบการณ์ที่สถานบริการและหน่วยงานสาธารณสุขในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้ร่วมกันจัดซื้อเวชภัณฑ์โดยการกำหนดรายการและยอดจัดซื้อรวมนั้น ทำให้ได้เวชภัณฑ์ที่มีคุณภาพดี ราคาเหมาะสม เป็นการช่วยลดต้นทุน ทำให้ค่ายาของผู้ป่วยมีราคาถูกลง ...
    • สถานการณ์การขาดแคลนแพทย์ในประเทศไทย 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร (2541)
      แม้สถานการณ์การขาดแคลนแพทย์ของประเทศไทยในรอบทศวรรษที่ผ่านมาจะคลี่คลายไปในทางดีขึ้น ทว่ายังคงพบว่าหน่วยงานที่มีการขาดแคลนแพทย์เรื้อรังก็คือโรงพยาบาลชุมชน ส่วนในพื้นที่ชนบทและนอกเขตอำเภอเมือง แพทย์เพิ่มขึ้นเพียงระยะสั้นแล้วกลับลดลง ...