DSpace at Health Systems Research Institute (HSRI): Recent submissions
Now showing items 4981-5000 of 5899
-
การพัฒนาระบบในการจัดเก็บค่ารักษาพยาบาลตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลจักราช จังหวัดนครราชสีมา
(โรงพยาบาลจักราช, 2544)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการปฏิบัติงานของโรงพยาบาลจักราช ให้สามารถจัดเก็บค่ารักษาพยาบาลตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ได้อย่างเหมาะสมและเป็นธรรม และพัฒนาระบบการบริหารจัดการของโรงพยาบาล ให้สามารถจั ... -
แบบแผนการคลอดบุตรในโรงพยาบาล ปี พ.ศ.2533-2539
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)แบบแผนการคลอดบุตรในโรงพยาบาล ปี 2533-2539 การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงแบบแผนการคลอดบุตรในโรงพยาบาลของหญิงไทย ในปี 2533-2539 โดยการสำมะโนโรงพยาบาลทั่วภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ ยกเว้นโรงพยาบาลชุมชน ซึ่งใช้การสำรวจในโ ... -
การปฏิรูประบบสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการทางเลือกเชิงนโยบาย
(โครงการสำนักพิมพ์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540) -
กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพในภาคเหนือ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)การวิจัยเรื่องนี้มุ่งทำความเข้าใจถึงวิธีคิด วิธีปฏิบัติ และวิธีให้คุณค่าเกี่ยวกับการกลไกการขับเคลื่อนเรื่องสุขภาพและผลกระทบของกลไกการปฏิรูประบบสุขภาพที่ผ่านมา และที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบันโดยการศึกษาการรับรู้ ... -
แผนพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ และการเงินการคลังสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539) -
คุณภาพบริการทางการแพทย์และจริยธรรมของแพทย์
(2537)ในปัจจุบันปัญหาคุณภาพบริการทางการแพทย์และจริยธรรมของแพทย์ กำลังได้รับความสนใจจากทุกฝ่าย บทความนี้ได้นำเสนอข้อมูลและวิเคราะห์สภาพปัญหาจากคดีต่างๆ ที่ร้องเรียนมายังแพทยสภา พร้อมทั้งได้เสนอทางออกต่อปัญหาต่างๆ ไว้อย่างน่าสนใจ -
ราคากลางผู้ประสบภัยจากรถโดยกลุ่มวิจัยโรคร่วม: จะได้ประโยชน์หรือ
(2537)เงินเบี้ยประกันสำหรับการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถมียอดไม่ต่ำกว่า 3,000 ล้านบาทต่อปี เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของประเทศที่ให้โอกาสภาคเอกชนค้ากำไรเข้ามาบริหารกองทุนสาธารณะ ซึ่งบังคับให้เจ้าของรถทุกคันต้องจ่ายเบี้ยประกัน ... -
การใช้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการบริหารงานเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย
(2537)การพัฒนาการใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการพัฒนางาน เป็นการวิจัยในระดับพื้นที่ชิ้นนี้ เป็นตัวอย่างที่ดีที่ควรส่งเสริมให้มีการทำกันอย่างกว้างขวาง และหลากหลาย เพราะยิ่งทำกันมากเท่าใด งานสาธารณสุขก็จะดีมากเท่านั้น -
สถานการณ์ชีวิตและพฤติกรรมการรักษาตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน
(2537)"การรักษาโรค" ถ้าหมกมุ่นแต่เพียงการใช้วิทยาการทางชีวการแพทย์ล้วน ก็จะห่างจาก "การรักษาคน" เพราะยังมีมิติทางจิตวิญญาณ มิติทางความเป็นมนุษย์ และมิติทางสังคมเข้ามาเกี่ยวข้องอีกมาก งานวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์ชิ้นนี้เตือนใ ... -
การคาดประมาณการเกิดโรค
(2537)ความถูกต้องของการตัดสินใจสำหรับเหตุการณ์ในอนาคตขึ้นอยู่กับความแม่นยำของการคาดการณ์หรือการทำนายอนาคต บทความนี้แสดงให้เห็นข้อจำกัดและศักยภาพของการใช้วิธีการต่างๆ สำหรับการคาดการณ์และวิธีการนำไปใช้ -
ฐานคติของแพทย์และสถาบันการแพทย์
(2537)บทความนี้ได้นำเสนอในการประชุมวิชาการเรื่องพฤติกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 4 "สังคมวัฒนธรรมกับสุขภาพ" ระหว่างวันที่ 24-27 พฤษภาคม 2537 ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ เป็นเสมือนกระจกเงาส่องให้กับวิชาชีพแพทย์ การดูตัวเองในกระจ ... -
แนวทางและกลไกสนับสนุนการวิจัย
(2537)บทความนี้นำเสนอให้เห็นว่าเหตุใดประเทศไทยจึงไม่สามารถใช้การวิจัยให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศได้อย่างเต็มที่ มีความจำเป็นที่จะต้องเร่งสนับสนุนอย่างครบวงจรตั้งแต่การสร้างนักวิจัย ไปจนถึงการใช้ผลงานวิจัย โดยความร่วมมือของทุกฝ่าย ... -
รายงานพัฒนาการโลก พ.ศ.2536: การลงทุนด้านสาธารณสุข (2)
(2537)ธนาคารโลกซึ่งเป็นองค์กรหนึ่งที่มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาโลกได้ศึกษาและจัดทำรายงานนี้ขึ้น กล่าวกันว่ารายงานนี้มีประโยชน์อย่างมากต่อการใช้เป็นข้อมูลและแนวทางประกอบการกำหนดนโยบายด้านสาธารณสุขของประเทศต่างๆ ในยุคโลกาภิวัฒน์ ... -
การวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อการพัฒนา
(2536)การวิจัยเพื่อแก้ปัญหาสาธารณสุข เน้นที่การศึกษาเพื่อเอาข้อมูลความรู้มาแก้ปัญหาและการแก้ปัญหานั้นต้องการผู้เกี่ยวข้องมากมาย ไม่ใช่บทบาทของนักวิชาการแต่เพียงฝ่ายเดียว และยังอาจรวมถึงชาวบ้านหรือกลุ่มเป้าหมายที่เราต้องการปรับ ... -
การใช้การวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจระดับพื้นที่ (2) : จังหวัดสมุทรปราการ
(2537)ฉบับนี้เสนอบทสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องในโครงการวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจในระดับพื้นที่ของจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นจังหวัดแรกที่ทำโครงการนี้ร่วมกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข -
ความเสมอภาคในระบบบริการสุขภาพ
(2539)แนวความคิดเรื่องความเสมอภาคตามหลักเศรษฐศาสตร์ มี 3 หลักการ และแนวทางในการพิจารณาต่างๆ กัน ไม่ได้มีความหมายหนึ่งเดียวที่เป็นสากล ระบบบริการสุขภาพแต่ละประเทศต้องตัดสินใจถึงจุดประสงค์ของความเสมอภาคของตนเอง ที่สำคัญคือ ... -
มิติทางสังคมของพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัย การศึกษาเชิงคุณภาพกับหญิงบริการอาชีพพิเศษ กรณีศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่
(2537)นอกจากองค์ความรู้ด้านชีวการแพทย์แล้ว ความรู้ด้านสังคมศาสตร์นับว่ามีความสำคัญไม่น้อยในการแก้ปัญหาสาธารณสุข เพราะปัญหาสาธารณสุขมีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องพฤติกรรมนุษย์อย่างแยกกันไม่ได้เลย การวิจัยนี้จึงเป็นแง่มุมหนึ่งทางด้าน ... -
การแปรสภาพโรงพยาบาลของรัฐให้เป็นเอกชน: บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย
(2537)การจัดบริการสาธารณสุขของประเทศไทยจำเป็นต้องได้รับการทบทวนเพื่อปรับปรุงพัฒนา หรือปฏิรูปขนานใหญ่อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้อีกต่อไป บทวิเคราะห์เชิงนโยบายนี้จะเป็นส่วนหนึ่งสำหรับการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างถูกทิศทางสำหรับอนาคตต่อไป -
การวิจัยประเมินผลโครงการกระจายอำนาจของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (ตามพระราชบัญญัติอาหาร ยา ยาเสพติดให้โทษ เครื่องมือแพทย์ และพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย)
(2537)สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาร่วมกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขได้ทำการประเมินผลการกระจายอำนาจให้กับจังหวัดและอำเภอตามกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การประเมินผลครั้งนี้เป็นการประเมินผลแบบมีส่วนร่วม ดำเนินการในช่วงปี พ.ศ. 2537 ... -
แหล่งกระจายยาและสถานการณ์ยาในชนบท
(2537)รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยเรื่องสถานการณ์ยาและกองทุนยาในชนบทของศูนย์ศึกษานโยบายสาธารณสุข คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ The Royal Tropical Institute ประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก ...