Now showing items 61-80 of 108

    • การจัดการระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในเขตเมือง กรณีศึกษาจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์ 

      วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; เอนก มุ่งอ้อมกลาง; Anek Mungaomklang; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      จังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ที่มีโรงพยาบาลศูนย์อยู่ในอำเภอเมืองโรงพยาบาลศูนย์นี้ต้องให้บริการทั้งผู้ป่วยในเขตอำเภอเมือง ในเขตจังหวัด และเขตพื้นที่ของจังหวัดอื่นที่อยู่ใกล้เคียง ทำให้มีภาระมาก ...
    • การจัดระบบบริการด้านรังสีรักษากับความต้องการและการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคมะเร็งในประเทศไทยปีงบประมาณ 2545 

      ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ศุภวาณี สำเภานนท์; Somsak Chunharas; Viroj Tangcharoensathien; Supawanee Sumpaonon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ด้วยเหตุผลที่โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่มีความสำคัญเป็นลำดับต้นของประเทศ และในขณะที่งานรังสีรักษามีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการบำบัดรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งทั้งในระยะเริ่มต้นและระยะสุดท้าย แต่สภาพปัญหาในปัจจุบันพบว่า ...
    • การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม; Walaiporn Patcharanarumol; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai; Kanjana Tisayaticom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2544 โดยได้รับเงินงบประมาณสนับสนุนการดำเนินการ เพื่อให้ประชาชนได้รับสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาลและสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพเมื่อเจ็บป่วย ...
    • การดูแลรักษาพยาบาลตนเองของประชาชนไทยโดยการซื้อยาจากร้านขายยาแผนปัจจุบัน 

      รังสรรค์ ศรีภิรมย์; Rangsan Sripirom; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachodpanich; ภานุมาศ ภูมาศ; Panumas Phumas; สุมนต์ สกลไชย; Sumon Sakolchai; กรแก้ว จันทภาษา; Kornkaew Chantapasa; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีเป้าหมายให้คนไทยเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่จำเป็น เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของครัวเรือน อย่างไรก็ตามยังมีประชาชนที่ไม่ไปใช้บริการในสถานพยาบาล แต่ซื้อยามารักษาตนเองจากร้านยา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นย ...
    • การถ่ายทอดหลักฐานวิชาการกิจกรรมทางกายสู่นโยบายการสร้างเมืองที่กระฉับกระเฉง: การทบทวนวรรณกรรมแบบย่อ 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ หมวดที่ 11 มุ่งมั่นให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความครอบคลุม ปลอดภัย มีภูมิต้านทานและยั่งยืน เนื่องด้วยการขยายตัวของเมืองที่รวดเร็วส่งผลต่อการเพิ่มภาระโรคไม่ติดต่ออันเนื่อง ...
    • การทบทวนตัวชี้วัดของระบบยานานาชาติและประเทศไทย 

      วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      การติดตามและประเมินผลเป็นองค์ประกอบที่มีความสำคัญของนโยบายแห่งชาติด้านยา การกำหนดตัวชี้วัดเพื่อประเมินผลงานมีประโยชน์ในการติดตามความก้าวหน้าตามเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ดีจะต้องมีความชัดเจน มีประโยชน์ วัดผลได้ น่าเชื่อถือ ...
    • การบริหารจัดการโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทและโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Puthasri; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; วลัยพร พัชรนฤมล; Waliporn Patcharanarumol; รายิน อโรร่า; Rajin Arora; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารจัดการโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทและโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุนโดยใช้การศึกษาเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการทบทวนเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสัมภาษณ์กลุ่มผู้มีส ...
    • การประเมินการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในบริบทเมืองของไทยด้วยแผนปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโลก 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      กิจกรรมทางกายไม่เพียงพอเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับที่สี่ของการเสียชีวิตด้วยโรคไม่ติดต่อ เพื่อแก้ไขปัญหาการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ จึงมีการคิดค้นและสนับสนุนให้มีการปฏิบัติในประเทศไทย ซึ่งได้เน้นความสำคัญของทั้งสังคม ...
    • การประเมินผลการจัดบริการช่วยเลิกบุหรี่ในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 

      หทัยชนก สุมาลี; Hathaichanok Sumalee; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; ประภาพรรณ เอี่ยมอนันต์; Praphaphan Iamanan; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสถานการณ์ระบบบริการช่วยเลิกบุหรี่ในประเทศไทยในช่วงปี 2550-2555 และปัจจัยความสำเร็จ รวมทั้งสรุปบทเรียนสำหรับการพัฒนารูปแบบบริการช่วยเลิกบุหรี่ที่เหมาะสมในอนาคต โดยการทบทวนวรรณกรรม ...
    • การผนวกกลไกการติดตามและประเมินความรู้และความตระหนักของประชาชนเกี่ยวกับแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพเข้าสู่การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ 

      สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; พรรัชดา มาตราสงคราม; Pohnratchada Mattrasongkram; วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; อภิชาติ ธัญญาหาร; Apichart Thunyahan; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      การดื้อยาต้านจุลชีพ (antimicrobial resistance: AMR) เป็นปัญหาระดับโลกที่คุกคามต่อความมั่นคงด้านสาธารณสุขและด้านเศรษฐกิจ มีการคาดการณ์ว่า หากไม่มีการแก้ไขปัญหานี้อย่างจริงจัง ในอีก 33 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2593) จะมีผู้เสียชีว ...
    • การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin; สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; คนางค์ คันธมธุรพจน์; Kanang Kantamaturapoj; อณิกา อิสลาม มาแชล; Aniqa Islam Marshall; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)
      การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจระดับนโยบายเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของหลักธรรมาภิบาล พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ได้เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการอภิบาลระบบ ตามมาตรา 13(4) และ มาตรา 48(8) ...
    • การลดความยากจนจากรายจ่ายด้านสุขภาพ : ผลลัพธ์ของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsait (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-03)
      วัตถุประสงค์ที่สำคัญของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยนอกจากเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นของประชากรแล้ว การลดความเสี่ยงของครัวเรือนจากภาระค่าใช้จ่ายเมื่อเจ็บป่วยเป็นเป้าหมายที่สำคัญอีกประการหนึ่ง ...
    • การศึกษาภาระงานและผลิตภาพกำลังคนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; Benjaporn Rajataram; กมลนัทธ์ ม่วงยิ้ม; Kamolnut Muangyim; อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; วิริยา โพธิ์ขวาง-ยุสท์; Wiriya Phokhwang-Just; ศุทธินี วัฒนกูล; Suttini Wattanakul; ดาราวรรณ รองเมือง; Daravan Rongmuang; ศรีจันทร์ พลับจั่น; Srijan Pupjain; สุทธานันท์ กัลกะ; Suthanan Kunlaka; เบญจพร รัชตารมย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสมโดยทำการศึกษาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาระงานและปัจจัยกำหนดผลิตภาพ 2) ศึกษาความสอดคล้องของภาระงานกับอัตรากำลังบุคลากรที่มี และ3) สังเคราะห์ข้อเสนอเช ...
    • การศึกษาสถานะการขึ้นทะเบียนยาสามัญใหม่และศักยภาพในการลดค่าใช้จ่ายด้านยาหลังจากได้รับการอนุมัติการศึกษาชีวสมมูลโดยสำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; พิสภาสินี พิศาลสินธุ์; Pispasinee Pisansin; ศลิษา ฤทธิมโนมัย; Salisa Rittimanomai; วริษฐา หวังบรรจงกุล; Waritta Wangbanjongkun; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12-19)
      การศึกษาชีวสมมูล (Bioequivalence Studies) ในมนุษย์เป็นการทดสอบความเท่าเทียมกันระหว่าง ยาสามัญและยาอ้างอิงในด้านอัตราและปริมาณของ Active Pharmaceutical Ingredient (API) ในบริเวณที่ต้องการให้เกิดฤทธิ์ของยา การศึกษาเช่นนี้ท ...
    • การสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ปี พ.ศ.2535 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; สุกัลยา คงสวัสดิ์; นวลอนันต์ ตันติเกตุ; ศศิเพ็ญ โมไนยกูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      การสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ปีพศ.2535 การสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ได้ใช้กรอบตัวอย่างโรงพยาบาลและสถานพยาบาลที่มีเตียงจำนวนทั้งสิ้น 320 แห่ง จากกองการประกอบโรคศิลปะในช่วงต้นปีงบประมาณ พศ. 2535 โดยทอดแบบสอบถาม ...
    • การสำรวจการเข้าถึงสถานพยาบาลและรายจ่ายด้านสุขภาพของผู้ป่วยที่เสียชีวิต พ.ศ. 2548-2549 

      ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท; อรศรี ฮินท่าไม้; อาทิตยา เทียมไพรวัลย์; Viroj Tangcharoensathien; Phusit Prakongsai; Chitpranee Vasavid; Onsri Hinthamai; Artitaya Tiampriwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การสำรวจครั้งนี้เป็นการศึกษาการเข้าถึงบริการสาธารณสุข อัตราและแบบแผนการใช้บริการ และภาระค่าใช้จ่ายของครัวเรือนทั้งค่ารักษาพยาบาล ค่าเดินทาง ค่าที่พัก และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ของผู้เสียชีวิต โดยใช้แบบสอบถามเพิ่มเติมนอกเหนือจา ...
    • การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับสิ่งแวดล้อมและนโยบายในประเทศไทย: การทบทวนเชิงวิเคราะห์ 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การมีกิจกรรมทางกายที่เพิ่มขึ้นก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมาก โดยไม่เพียงลดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรและลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจากโรคไม่ติดต่อ แต่ยังส่งผลต่อการสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ลดความเหลื่อมล้ำในสังคมและเพิ่มคุณภาพชีวิต ...
    • การเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย : การวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; Vijj Kasemsap; Yot teerawatananon; Thanom Supaporn; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การบริการทดแทนไต (renal replacement therapy-RRT) เป็นการรักษาพยาบาลที่มีความจำเป็นสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (ต่อไปนี้เรียกว่าผู้ป่วยฯ) ซึ่งในปัจจุบัน มีความไม่เท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการทดแทนไตระหว่างผู้ป่วยฯ ...
    • การใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลประเภทต่างๆ ของประชากรไทย พ.ศ. 2558 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      ประเทศไทยได้เริ่มดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างจริงจังตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้การเข้าใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้บริการด้านสุขภาพของประชากรไทยตามสิทธ ...
    • การใช้บริการรักษาพยาบาลของคนไทยที่ไม่มีหรือไม่ทราบสิทธิประกันสุขภาพ 

      ประสิทธิ บุญเกิด; Prasit Boonkerd; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      การศึกษานี้วิเคราะห์การใช้บริการรักษาพยาบาลโรคทั่วไปของคนไทยในกลุ่มที่ไม่มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลใดๆ หรือไม่ทราบสิทธิ รวมถึงไม่ได้รับการขึ้นทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า วิเคราะห์ข้อมูลลักษณะทางประชากร เศรษฐฐานะ ...