เลือกตามผู้แต่ง "เกื้อเกียรติ ประดิษฐ์พรศิลป์"
แสดงรายการ 1-4 จาก 4
-
Knowledge Translation: จากหิ้งสู่ข้างเตียง/ชุมชน กรณีศึกษา NCDs
เกื้อเกียรติ ประดิษฐ์พรศิลป์; Kearkiat Praditpornsilpa (คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557-09-04)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี -
การศึกษาผลของการให้ธาตุเหล็กทางเส้นเลือดต่อภาวะซีด ปริมาณของยากระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดและค่าใช้จ่ายในการรักษาในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ปวีณา สุสัณฐิตพงษ์; Paweena Susantitaphong; สุขฤทัย เลขยานนท์; Sookruetai Lekhyananda; มนต์ชัย ศิริบำรุงวงศ์; Monchai Siribumrungwong; กมลรัชฎ์ จงธนากร; Kamonrat Chongthanakorn; ทรงเกียรติ หลิวสุวรรณ; Songkiat Lewsuwan; สุพัฒน์ วาณิชย์การ; Supat Vanichakarn; เกื้อเกียรติ ประดิษฐ์พรศิลป์; Kearkiat Praditpornsilpa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-02)ภาวะโลหิตจางในโรคไตวายเรื้อรังเป็นปัญหาที่พบบ่อย โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกเลือด โดยภาวะดังกล่าวเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของอัตราการเจ็บป่วยและเสียชีวิต ภาวะขาดธาตุเหล็กเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยยังคงมีภาวะซีดอยู่ ... -
การศึกษาผลของวิธีการฟอกไต,ระดับการทำงานของไตก่อนการฟอกไต ต่ออัตราการเสียชีวิตและภาระต่อเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข โดยการติดตามผู้ป่วยไปข้างหน้า
เกื้อเกียรติ ประดิษฐ์พรศิลป์; Kearkiat Praditpornsilpa; ปวีณา สุสัณฐิตพงษ์; Paweena Susantitaphong; ธนันดา ตระการวนิช; Tananda Takarnvanich; มนต์ชัย ศิริบำรุงวงศ์; Monchai Siribumrungwong; อนันต์ เชื้อสุวรรณ; สุรัตน์ ทรงพานิช; Surat Songpanich; พิเชฐ หล่อวินิจนันท์; Pichet Laowanichnan; วีรวัฒน์ พานทองดี; Weerawat Pantongdee; สัจจะ ตติยานุพันธ์วงศ์; Sajja Tatinupanwong; พิสิฐ อินทรวงษ์โชติ; Pisit Intarawongchot; ปกรณ์ ตุงคะเสรีรักษ; Pakorn Tungkasereerak; ธีรพล สุขมาก; Teerapol Sukmak; กัตติกา หาลือ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-02)ที่มาของการศึกษา อุบัติการณ์ของการเกิดภาวะไตเรื้อรังเพิ่มมากในประเทศไทยจากการเพิ่มมากขึ้นของผู้ป่วย non-communicable disease หรืออาจเกิดจากการเริ่มให้การรักษาผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะท้ายๆ ด้วยการบำบัดทดแทนไตไม่เหมาะสม ... -
จีโนไทป์ของยีนเอชแอลเอคลาสหนึ่งและสองโดยเทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับเบสแบบโมเลกุลเดี่ยวในผู้ป่วยไทยที่ได้รับการปลูกถ่ายไต
ยิ่งยศ อวิหิงสานนท์; Yingyos Avihingsanont; ปาจรีย์ จริยวิลาศกุล; Pajaree Chariyavilaskul; มนพัทธ์ ชำนาญพล; Monpat Chammanphon; สุวศิน อุดมกาญจนนันท์; Suwasin Udomkarnjananun; ณัฐวุฒิ โตวนำชัย; Natavudh Townamchai; เกื้อเกียรติ ประดิษฐ์พรศิลป์; Kearkiat Praditpornsilp; ณัฏฐิยา หิรัญกาญจน์; Nattiya Hirankarn; มนนัทธ์ พงษ์พานิช; Monnat Pongpanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)การปลูกถ่ายอวัยวะเป็นวิธีการรักษาที่ช่วยต่อชีวิตใหม่ให้แก่ผู้ป่วยที่หมดหวังที่จะรักษาด้วยวิธีการอื่นๆ เพื่อให้มีชีวิตอยู่ต่อไปได้ ไตเป็นอวัยวะที่มีการปลูกถ่ายมากที่สุดในประเทศไทยตลอดระยะเวลากว่า 50 ปีที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าว ...