dc.contributor.author | สมชาย ภานุมาสวิวัฒน์ | en_US |
dc.contributor.author | Somchai Panumaswiwat | en_US |
dc.contributor.author | สถิต สายแก้ว | en_US |
dc.contributor.author | นพรัตน์ หารไชย | en_US |
dc.contributor.author | บรรณศาสตร์ ไชยพรรณา | en_US |
dc.contributor.author | สนอง ประนม | en_US |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:17:51Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:49:58Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:17:51Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:49:58Z | |
dc.date.issued | 2543 | en_US |
dc.identifier.other | hs0774 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/1194 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาในรูปแบบ Action research phase 1 : situational analysis วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาฉีดที่ไม่เหมาะสมของผู้ให้และผู้รับบริการในยาที่ใช้บ่อย 12 ชนิด ที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลราษีไศล กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา ประกอบด้วย แพทย์ 6 คน พยาบาลวิชาชีพที่แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน 5 คน และผู้ป่วยที่มารับบริการที่ได้รับการรักษาโดยใช้ยาฉีด 1 ใน 12 ชนิด จำนวน 403 ราย และกลุ่มผู้ป่วยที่ไม่ได้รับยาฉีด 517 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่ 1 เมษายน 2542 - 30 พฤศจิกายน 2542 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย เกณฑ์มาตรฐานการใช้ยาฉีด 12 ชนิด แบบสัมภาษณ์ผู้ป่วยเกี่ยวกับการใช้ยาฉีด เวชระเบียนบันทึกข้อมูลการรักษาพยาบาล และแบบประเมินความเหมาะสมในการให้การรักษาพยาบาลของแพทย์และพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และหาปัจจัยที่เกี่ยวข้องโดยใช้ Odd ratio ผลการศึกษาพบว่า ผู้ให้บริการ (แพทย์และพยาบาล) ใช้ยาฉีดไม่เหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 48.9 Gentamycin และ Vit B. complex มีการใช้ไม่เหมาะสมในสัดส่วนของการใช้ยาแต่ละชนิดมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 92.3 ลักษณะของการใช้ไม่เหมาะสมส่วนใหญ่จะเป็นการใช้เกินความจำเป็น (over use ) ผู้รับบริการส่วนมากมีทัศนคติที่ดีต่อการใช้ยาฉีด ได้แก่ ยาฉีดออกฤทธิ์เร็ว ช่วยให้หายเร็ว บำรุงร่างกายให้แข็งแรง ป้องกันการติดเชื้อที่แผล แก้อาการช้ำใน เป็นการได้รับยาโดยตรง สะดวก สะอาด จากผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าปัจจุบันยังมีการใช้ยาฉีดในลักษณะเกินความจำเป็น ดังนั้นจึงควรมีการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการให้การรักษาพยาบาล เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็นไปในทางที่ถูกต้องเหมาะสมต่อไป และในทำนองเดียวกันก็ควรมีการกำหนดแนวทางในการปรับเปลี่ยนความเชื่อ ค่านิยมของผู้รับบริการไปพร้อมๆ กันด้วย | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 1089199 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/octet-stream | en_US |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมสุขภาพ | en_US |
dc.subject | บริการทางการแพทย์ | en_US |
dc.title | การศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาฉีดที่ไม่เหมาะสมของผู้ให้และผู้รับบริการของโรงพยาบาลราษีไศล : ปัญหาและแนวทางแก้ไข | en_US |
dc.title.alternative | Inapprapriate use of drug injection among providers and patients in Rasisalai | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study is an action research phase I : situational analysis. The objective is to study about the inappropriate behavior to injection between a provider and patients at out patient department of Rasrisalai District Hospital. The study units are composed of 6 doctors, 5 ER nurses , and 403 patients who got the 1 out of 12 common injection drugs and 517 oatrenh who did not get injected dngs. Data collection had been corrected since 1 st April 1998 until 30th November 1998. The instruments are the standard criteria for 12 injectable drugs , questionnaire, medical record and the treatment assessment format. Data analysis tool are percentage , mean and Odd Ratio. The study shows that 48.9 % of the providers (doctors and nurses) have the inappropriate injectable behaviors. Gentamycin and Vitamin B complex are the most common drug to be use (92.3%). Over use is the most common pattern. Patients have the good attitude for injection ; for instance rapid action and recovery, comfort and clean. The study indicate that there is the overuse of injection drug in Rasisalai Hospital . So we should have the standard process to treatment assessment , in order to get the basic data to change for good behavior. In the same time , we should create same guidelines to change the patient, s belief and value. | en_US |
dc.identifier.callno | WA412 ส239ก 2543 | en_US |
dc.subject.keyword | Drug Injection | en_US |
dc.subject.keyword | Provider | en_US |
dc.subject.keyword | Patient | en_US |
dc.subject.keyword | Rasisalai Hospital | en_US |
dc.subject.keyword | ความพึงพอใจ | en_US |
dc.subject.keyword | พฤติกรรมการใช้ยาฉีด | en_US |
dc.subject.keyword | พฤติกรรมผู้รับบริการ | en_US |
dc.subject.keyword | พฤติกรรมผู้ให้บริการ | en_US |
dc.subject.keyword | โรงพยาบาลราษีไศล | en_US |
.custom.citation | สมชาย ภานุมาสวิวัฒน์, Somchai Panumaswiwat, สถิต สายแก้ว, นพรัตน์ หารไชย, บรรณศาสตร์ ไชยพรรณา and สนอง ประนม. "การศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาฉีดที่ไม่เหมาะสมของผู้ให้และผู้รับบริการของโรงพยาบาลราษีไศล : ปัญหาและแนวทางแก้ไข." 2543. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1194">http://hdl.handle.net/11228/1194</a>. | |
.custom.total_download | 112 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 1 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 0 | |