Show simple item record

Informal working conditions and health problem : a case study of industrial home-based work

dc.contributor.authorเบ็ญจา จิรภัทรภิมลen_US
dc.contributor.authorBenja Jirapatpimolen_US
dc.contributor.authorกรรณิการ์ เล็กบุญญาสินen_US
dc.contributor.authorนลินี ตันธุวนิตย์en_US
dc.contributor.authorมาลี สิทธิประเสริฐen_US
dc.contributor.authorบุญสม น้ำสมบูรณ์en_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:22:11Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:45:21Z
dc.date.available2008-12-04T05:22:11Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:45:21Z
dc.date.issued2544en_US
dc.identifier.otherhs0802en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1796en_US
dc.description.abstractสภาพการทำงานนอกระบบกับปัญหาสุขภาพ: กรณีศึกษาการทำงานอุตสาหกรรมอยู่บ้าน งานศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้กรอบคิดทางด้านสังคมวิทยาอุตสาหกรรมเกี่ยวกับกระบวนการผลิต การจัดการอุตสาหกรรมและแรงงาน ในการศึกษาได้เลือกกลุ่มงานอุตสาหกรรมหัตถกรรม เพราะเป็นงานนอกระบบที่มีคนทำมากที่สุด และเลือกศึกษาเพียง 6 ประเภทงาน ได้แก่ บรอนซ์ เมล็ดพันธุ์ แหอวน ทอผ้า เย็บผ้า และเจียระไนพลอย ตามที่ได้มีผู้ศึกษาไว้ก่อนแล้วว่าเป็นงานที่เสี่ยงอันตราย สำหรับพื้นที่ศึกษาคือ กรุงเทพมหานคร ขอนแก่น สกลนคร เชียงใหม่ และพะเยา ผลจากการศึกษาพบว่ากระบวนการผลิตของงานทั้ง 6 ชนิด มีความเสี่ยงต่ออันตรายที่เกิดขึ้นกับสุขภาพของคนทำงาน รวมทั้งสมาชิกในครัวเรือนและสภาพแวดล้อมของชุมชน ซึ่งเรียงตามลำดับของระดับอันตรายที่เกิดขึ้น ได้แก่ บรอนซ์ เมล็ดพันธุ์ แหอวน ทอผ้า เย็บผ้า และเจียระไนพลอย ในส่วนของปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นขณะนี้ คือคนทำงานส่วนใหญ่เกิดการเจ็บป่วยที่สันนิษฐานว่าน่าจะเกิดจากงานที่ทำ แต่ที่สำคัญคือมีคำวินิจฉัยของแพทย์ที่ระบุว่างานที่ทำอยู่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้ทำงานและเป็นต้นเหตุแห่งความเจ็บป่วยของสมาชิกในครอบครัว นอกจากปัญหาสุขภาพแล้ว จุดที่น่าสนใจคือ คนทำงานอุตสาหกรรมอยู่กับบ้านเหล่านี้ได้รับค่าจ้างต่ำกว่าอัตราค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำ ทั้งๆ ที่คนกลุ่มนี้ได้มีการลงทุนทั้งหมดและ/หรือลงทุนบางส่วนแทนนายจ้าง รวมทั้งต้องเผชิญกับปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการทำงาน โดยที่เจ้าของงานมิได้รับผิดชอบ ดังนั้นทางออกที่น่าจะดีที่สุดคือระบบประกันสุขภาพสำหรับแรงงานนอกระบบที่ดำเนินงานโดยองค์กรชุมชน แต่เจ้าของงานและรัฐจะต้องร่วมรับผิดชอบด้วยen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1198439 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHome Laboren_US
dc.subjectระบบสุขภาพของประชาชนกลุ่มต่างๆen_US
dc.subjectปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH)th_TH
dc.titleสภาพการทำงานนอกระบบกับปัญหาสุขภาพ : กรณีศึกษาการทำงานอุตสาหกรรมอยู่กับบ้านen_US
dc.title.alternativeInformal working conditions and health problem : a case study of industrial home-based worken_US
dc.description.abstractalternativeInformal Working Conditions and Health Problem:A Case Study of Industrial Home-Based Work At present, most of informal jobs employed in Thailand are mainly in the group of manufacturing industries. The majority of these informal jobs are putting-out system, i.e., the subcontraction some parts of the manufacturing work to private homes. As a consequence, the health of the workers in these home-based industrial work is at risk. The case study of these informal jobs are bronze work, seed-making, fishing-net, hand-weaving, garment and gem-cutting The result of studies found that the manufacturing process of these industrial works cause the health hazard to the workers and their family members as well as some environmental damage of their communities. The level of health risk ranging from the highest are the following: bronze work, seed-making, fishing-net, hand-weaving, garment and gem-cutting. In regard to the health problem, most of the workers’ illness are believed to be due to the working condition. Most significantly, the result from the diagnosis of some doctors reveals that these industrial work are dangerous to the workers’ health and are the main cause of the illness of their family workers. Aside from the health problem, another interesting point is that these home-based industrial workers have to invest on their own capital expenditure but earn lower wage than the minimum wage rate. They have to face the health problem without the responsibility of their employers. Therefore, the best solution in to set up a health insurance system for these informal home workers. The system which is run by the community organization. Their employers and the government have to share the responsibility.en_US
dc.identifier.callnoWA20.5 บ795ส 2544en_US
dc.subject.keywordHealth Problemen_US
dc.subject.keywordHome-based Workeren_US
dc.subject.keywordIndustrialen_US
dc.subject.keywordInformal Workeren_US
dc.subject.keywordแรงงานนอกระบบen_US
dc.subject.keywordปัญหาสุขภาพen_US
dc.subject.keywordแรงงานen_US
dc.subject.keywordอุตสาหกรรมen_US
dc.subject.keywordหัตถกรรมen_US
.custom.citationเบ็ญจา จิรภัทรภิมล, Benja Jirapatpimol, กรรณิการ์ เล็กบุญญาสิน, นลินี ตันธุวนิตย์, มาลี สิทธิประเสริฐ and บุญสม น้ำสมบูรณ์. "สภาพการทำงานนอกระบบกับปัญหาสุขภาพ : กรณีศึกษาการทำงานอุตสาหกรรมอยู่กับบ้าน." 2544. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1796">http://hdl.handle.net/11228/1796</a>.
.custom.total_download130
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year2

Fulltext
Icon
Name: hs0802.pdf
Size: 745.1Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record