• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

การกระจายอำนาจกำลังคนด้านสุขภาพในพื้นที่ชนบท

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; Somsak Chumharas; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn;
วันที่: 2542
บทคัดย่อ
การกระจายบุคลากรด้านสุขภาพในประเทศไทยดีขึ้นตามลำดับ ในอดีต ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรสุขภาพ โดยเฉพาะแพทย์ในพื้นที่ห่างไกลเป็นปัญหาที่รุนแรงมาก แพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกรเป็นสามกลุ่มเหลักที่ต้องใช้ทำงานให้กับภาครัฐเมื่อจบการศึกษา เนื่องจากรัฐบาลเป็นผู้ออกทุนให้การศึกษา ถึงแม้กลุ่มเหล่านี้ต้องไปใช้ทุน แต่การขาดแคลนบุคลากรเหล่านี้ในพื้นที่ห่างไกลยังเป็นปัญหาอยู่มากในหลายพื้นที่ เนื่องจากมีอัตราการเคลื่อนย้ายที่สูง สำนักงานนโยบายและแผน กระทรวงสาธารณสุขเป็นองค์กรที่รับผิดชอบกำหนดความต้องการบุคลากรด้านสุขภาพ ขณะที่ทบวงมหาวิทยาลัยทำหน้าที่หลักในการผู้ผลิต สำนักงานข้าราชการและพลเรือนทำหน้าที่ควบคุมกรอบอัตรากำลังของทุกสถานบริการของรัฐเหตุผลหลักที่สำคัญที่บุคลากรด้านสุขภาพ โดยเฉพาะแพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกรมีการเคลื่อนย้ายสูง ได้แก่ ความไม่พอใจกับงานที่ทำ และ ต้องการเรียนต่อเพื่อเป็นบุคลากรเฉพาะทาง อย่างไรก็ดี ทั้งนักเรียนและผู้ปกครองส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการที่ภายหลังจบต้องทำงานให้กับภาครัฐ และเห็นด้วยกับการที่รัฐสนับสนุนด้านการเงินเพื่อการศึกษา รายงานนี้ต้องการเสนอให้โรงพยาบาลจังหวัดมีกรอบจำนวนแพทย์น้อยกว่าสถานบริการในระดับอำเภอ ความเห็นนี้ตรงข้ามกับกรอบของสำนักงาน ก.พ โดยคงการทำงานในภาครัฐใช้ทุนไว้สำหรับกลุ่มแพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกร ให้มีการกระจายบุคลากรสุขภาพระหว่างจังหวัดเป็นธรรมมากขึ้น ควรจะมีงบประมาณเพิ่มเติมเพื่อให้สถานบริการระดับอำเภอสามารถจ้างบุคลากรเพิ่มเติมได้เอง และควรมีแรงจูงใจทั้งด้านการเงินและการศึกษาให้แก่บุคลากรที่ให้บริการในพื้นที่ห่างไกล

บทคัดย่อ
There has been significant improvement in distribution of human resources for health in Thailand. Historically, a shortage of health personnel in rural areas was severe. Nevertheless, the most needed group in rural areas was the physician. The doctors, dentists and pharmacists in rural areas were mostly under compulsory service program by which they were financially subsidised while studying. Nevertheless, there were high turnover rates of these groups in rural areas. The Bureau of Health Policy and Planning was responsible for determining needs for HRH (human resource for health) for utilisation while the Ministry of University Affairs (MUA) mainly produced HRH especially doctors, dentists and pharmacists. However, the Office of Civil Service Commission (CSC) controlled staffing patterns of all public health facilities. Most reasons of leaving district level given by HRH were job dissatisfaction and their need for further training especially for being specialists. However, health sciences students and their parents were not against the compulsory service program rather favouring government financing for education. The paper proposed number of doctors at the provincial level be less than that of district level which was opposite to the CSC’s requirement and the compulsory service program be remained for doctors, dentists and pharmacists. More equity of HRH distribution among provinces should be implemented and additional budget should be given to district health facilities to employ additional staff. Financial and educational incentives should also be delivered for those working in rural areas.
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hs0668.pdf
ขนาด: 6.101Mb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)
Thumbnail
ชื่อ: he0065.pdf
ขนาด: 255.4Kb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 0
ปีงบประมาณนี้: 0
ปีพุทธศักราชนี้: 0
รวมทั้งหมด: 226
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Research Reports [2483]

    งานวิจัย


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1290]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [232]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV