บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนประเด็นเรื่องการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานประจำ ว่าจะต้องดำเนินการอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ โดยมีคำถามสำคัญว่าโครงการเหล่านี้จะต้องเสนอให้คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ทบทวนหรือไม่ อย่างไร ผลการศึกษาได้ข้อสรุปว่า จะต้องแยกระหว่างการปฏิบัติ, การทดลองกับการวิจัยให้ชัดเจน กรณีที่เป็นการศึกษาวิจัยทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน หากเป็นการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ทั้งการศึกษาวิจัยทางชีวเวชศาสตร์, พฤติกรรมศาสตร์หรือด้านสังคมศาสตร์ ก็ควรผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์เพื่อให้มั่นใจว่าอาสาสมัครหรือผู้ที่ถูกศึกษาวิจัยจะได้รับการคุ้มครองอย่างเหมาะสมในเรื่องศักดิ์ศรี สิทธิ ความปลอดภัย และสุขภาวะ ตามหลักจริยธรรมสากลของการวิจัย อย่างไรก็ดี เพื่อมิให้เป็นภาระที่เกินสมควรควรมีการจำแนกโครงการวิจัยตามความเสี่ยง โครงการวิยที่มีความเสี่ยงน้อยควรได้รับการพิจารณาอย่างเร่งด่วน
บทคัดย่อ
The objective of the study was to review ethical considerations for research in routine practices. The
main question was whether such research should undergo an ethical review. The study concluded that,
first, there is a need to distinguish among practice, experiment and research. Any work that contains a
research element in part or whole should be submitted for review by an ethics research committee, if the
research involves human subjects, and concerns biomedical, behavioral and social sciences matters. The
rationale is to ensure that human subjects or research participants are appropriately protected with regard
to their dignity, rights, safety and well-being according to internationally accepted ethical principles concerning
human research. However, the burden of ethical review should be appropriately managed. The
research should be categorized by risks. Research that involves minimal risks should be considered for
expedited review.