บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาถึงการผลิตซ้ำของความรุนแรงและรูปแบบการต่อต้านขัดขืนของผู้ถูกกระทำเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตแบบมีส่วนร่วม โดยมุ่งตอบคำถามที่สำคัญคือ การผลิตซ้ำดำรงอยู่ในบริบททางวัฒนธรรมและความสัมพันธ์ทางอำนาจอย่างไร ประสบการณ์และความทุกข์ของผู้ถูกกระทำเป็นผลของชุมชนที่ให้ความหมายของความรุนแรงอย่างไร
มีผลการวิจัยแสดงว่ากระบวนการเกิดความรุนแรงซ้ำซากในครอบครัวทำให้เกิดการตอบโต้ของผู้หญิงที่ถูกกระทำความรุนแรงที่สังคมตัดสินว่าไม่ถูกต้องตามบรรทัดฐานของสังคมแต่เป็นหนทางเดียวที่ปัจเจกจะตอบโต้ได้ภายใต้เงื่อนไขเชิงโครงสร้างทางอำนาจที่กดทับอยู่ การวิจัยครั้งนี้จึงต้องการแสดงว่า รูปแบบการตอบโต้ภายใต้เงื่อนไขเชิงโครงสร้างทางอำนาจที่กดทับอยู่ การวิจัยครั้งนี้จึงต้องการแสดงว่า รูปแบบการตอบโต้ต่อความรุนแรงของปัจเจกที่เกิดขึ้นอยู่ภายใต้เงื่อนไขของบริบทความรุนแรงซึ่งอาจทำให้เกิดการตอบโต้ที่สังคมตัดสินว่าไม่ถูกต้องตามบรรทัดฐานของสังคมแต่อาจเป็นหนทางเดียวที่ปัจเจกจะตอบโต้ภายใต้เงื่อนไขนั้น
บทคัดย่อ
The purpose of this qualitative research study was to explore the incidence of repeated violence and
patterns of resistance. The main data were collected from in-depth interviews, participatory observation
and a document review. The research questions were: (a) what is the context of the cultural and power
relationships in which the repeated violence exists, and (b) how is the meaning of the experience and the
suffering of the abused the fault of the community?
It was found that the process of repetitious violence in the family caused resistance to social norms,
but it was the only way that the individual could have reacted in view of the power structure.
The findings reveal the patterns of resistance that occurred under the terms of the context of violence
that went against the social norms; it might be the only way that the individual could have reacted under
such conditions.