• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

การควบคุมกำกับและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์ในกลุ่มเยาวชน และกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ (กลยุทธ์ที่ 2: เสริมสร้างศักยภาพและการมีส่วนร่วมของเครือข่ายฯ)

มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการประเมินผล คณะสาธารณสุขศาสตร์; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล; จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์; มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คณะสาธารณสุขศาสตร์; มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะนิเทศศาสตร์; กระทรวงสาธารณสุข. สำนักโรคเอดส์วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค; กระทรวงสาธารณสุข. สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค; องค์การอนามัยโลก; สถาบันวิจัยและพัฒนานโยบาย;
วันที่: 2553-12
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์การดำเนินการโครงการวิจัยฯ นี้มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพเครือข่ายป้องกันเอดส์ในลักษณะการควบคุม กำกับ และประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์ในประชากรกลุ่มเป้าหมาย 7 กลุ่ม (22 โครงการ) ที่มีความหลากหลายในเรื่องบริบท ประชากร ความชุก และกลไกในการรณรงค์เพื่อแก้ปัญหาเอดส์กลุ่มตัวอย่างของโครงการวิจัยฯ เป็นผู้มีส่วนได้เสียในโครงการฯ จำนวน 3 กลุ่ม คือ 1) ผู้รับทุนจากสวรส. (ผู้รับทุนโดยตรง และผู้บริหารโครงการ 22 โครงการ) เป็นผู้เซ็นสัญญารับทุนเพื่อดำเนินโครงการกับสวรส. 2)เครือข่าย/แกนนำ (ผู้รับงานจากผู้รับทุนไปทำ) กลุ่มแกนนำที่โครงการแต่ละโครงการได้พัฒนาขึ้นเพื่อเป็นเครือข่ายแกนนำเพื่อดำเนินโครงการ แกนนำถือได้ว่าเป็นกลไกสำคัญที่จะมีส่วนสนับสนุนให้โครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์เป็นกลุ่มที่คอยเชื่อมประสานและถ่ายทอดองค์ความรู้สู่กลุ่มเป้าหมายและเป็นแกนนำในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ภายใต้โครงการ 3) กลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มประชากรตัวอย่างที่ได้รับ intervention จากกลุ่มแกนนำหรือเป็นกลุ่มตัวอย่างจากโครงการที่ได้รับทุนสนับสนุนการดำเนินงานจากสวรส. จำนวน 22 โครงการ วิธีดำเนินการวิจัย ดำเนินงานในพื้นที่ 26 จังหวัด มีการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพโดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้รับทุนหลัก มีกลุ่มผู้รับทุนทั้ง 22 โครงการใน 7 ประชากรกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งสิ้น 111 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์/สนทนากลุ่มในกลุ่มแกนนำที่ได้รับการอบรมภายใต้โครงการและ ปฏิบัติงานในพื้นที่รับผิดชอบของโครงการ รวมทั้งสิ้น 378 คน การเก็บรวบรวมเชิงปริมาณในกลุ่มเป้าหมาย หรือ ประชากรที่ได้รับ intervention จากกลุ่มแกนนำในพื้นที่เดียวกันรวมทั้งสิ้น 2,524 คน นอกจากนั้นยังมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการทบทวนเอกสาร รายงานผลการประเมินผลโครงการ และสอบถามผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการวิจัยโดยใช้แบบสอบถาม และใช้กระบวนการสนทนากลุ่มเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล โดยพิจารณาตามเนื้อหาของการประเมินตามตัวชี้วัดหลักของโครงการและประเมินโครงการตามกระบวนการดำเนินโครงการจำแนกเป็น Input, Process, Output, Outcome, Impact Evaluation
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hs1786.pdf
ขนาด: 5.903Mb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 0
ปีงบประมาณนี้: 2
ปีพุทธศักราชนี้: 1
รวมทั้งหมด: 161
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Research Reports [2469]

    งานวิจัย

ชิ้นงานที่เกี่ยวข้อง

แสดงชิ้นที่เกี่ยวข้องโดย ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง ผู้สร้าง และหัวเรื่อง

  • ปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่มีผลต่อการควบคุมป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ในจังหวัดจันทบุรี 

    มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน (ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2537)
  • ระบบบริการสุขภาพชุมชน : โครงการ กรุงเทพ 7 

    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์; Chulalongkorn University. Faculty of Medicine; สำนักอนามัย กทม. ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ 6 (ลุมพินี); สภากาชาดไทย. โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์; สภากาชาดไทย. วิทยาลัยพยาบาล; จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสังคม; Bangkok Metropolitan Administration. Health Department; The Thai Red Cross Society, King Chulalongkorn Memorial Hospital; Nursing Collage of the Thai Red Cross; Chulalongkorn University. Social Research Institute (Faculty of Medicine Chulalongkorn University, 2546)
    ในศตวรรษที่ 21 สิ่งท้าทายใหม่ๆ ทางสุขภาพและชีวิตความเป็นอยู่ของสังคมไทยที่กำลังปรากฏให้เห็นคือ ความรวดเร็วของการสูงอายุของประชากร การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของโรคจากปัญหาโรคติดต่อที่เป็นปัญหาหลักทางสุขภาพมาเป็นโรคไม่ติดต่อ ...
  • การพัฒนาระบบความปลอดภัยของสถานพยาบาล 

    สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ; Suwat Wiriyapongsukit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
    จากข้อมูลการศึกษาผลกระทบต่อการจัดบริการสุขภาพ และผลกระทบต่อบุคลากร พบว่ามีความพยามยามแก้ปัญหาด้วยวิธีการหลากหลายทั้งการลดบริการเชิงรุกนอกสถานพยาบาลทั้งการเยี่ยมบ้าน การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชน ตลอดจนการปรับเปลี ...

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV