• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Articles
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Articles
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

การลดความยากจนจากรายจ่ายด้านสุขภาพ : ผลลัพธ์ของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย

สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsait;
วันที่: 2554-03
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ที่สำคัญของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยนอกจากเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นของประชากรแล้ว การลดความเสี่ยงของครัวเรือนจากภาระค่าใช้จ่ายเมื่อเจ็บป่วยเป็นเป้าหมายที่สำคัญอีกประการหนึ่ง การศึกษานี้ใช้ข้อมูลการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ เพื่อประมาณการจำนวนครัวเรือนทั่วประเทศที่ยากจนเพราะรายจ่ายสุขภาพในช่วงก่อนมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (พ.ศ.2539, 2541, 2543 และ 2545) และภายหลัง (พ.ศ.2547, 2549, 2550 และ 2551) โดยใช้ตัวแบบสมการถดถอยเชิงเส้นตรงแบบเป็นช่วง เพื่อเปรียบเทียบกับสถานการณ์หากไม่มีนโยบายดังกล่าว พบว่า สัดส่วนครัวเรือนในระดับประเทศ ภูมิภาคและจังหวัดที่ต้องตกอยู่ใต้เส้นความยากจนเนื่องจากการจ่ายค่ารักษาพยาบาลมีแนวโน้มลดลงโดยลำดับ ประมาณการได้ว่า หากไม่มีนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าใน พ.ศ.2545 ครัวเรือนที่ยากจนเนื่องจากรายจ่ายด้านสุขภาพใน พ.ศ.2551 จะมีจำนวน 100,604 ครัวเรือน การมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสามารถลดจำนวนครัวเรือนดังกล่าวลงได้จำนวน 37,628 ครัวเรือน หรือร้อยละ 37.4 ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 0.2 ของ 19 ล้านครัวเรือนในประเทศ การออกแบบระบบประกันสุขภาพโดยคำนึงถึงด้าน ความกว้าง คือ จำนวนประชากรที่ครอบคลุม และด้านความลึก คือ ขอบเขตของสิทธิประโยชน์ มีความสำคัญต่อการป้องกันมิให้ครัวเรือนต้องตกอยู่ภายใต้กับดักความยากจนเนื่องจากภาระค่าใช้จ่ายเมื่อยามเจ็บป่วย

บทคัดย่อ
The major aims of the universal health care coverage (UC) policy initiated in Thailand in 2001 are not only to increase the access of people to essential health services, but also to reduce the financial risk they face due to out-of-pocket payments for health care. This study employed secondary data analysis of the Socio-Economic Survey (SES) conducted by the National Statistical Office to estimate the number of households becoming impoverished because of the payments for health care they had to make before implementation of the UC policy (1996, 1998, 2000, and 2002) and thereafter (2004, 2006, 2007, and 2008), and to compare the findings with a counter-factual UC-absent scenario, using segmented linear regression analysis. At the national, regional, and provincial levels, the proportions of households falling below the poverty line declined gradually during the study periods. Without the 2002-UC, a total of 100,604 households nationwide would be impoverished by out-of-pocket payments for health care in 2008. The UC policy in the same year could reduce the number of health-impoverished households by 37,628 (37.4%), which is equivalent to 0.2 percent of 19 million households nationwide. The health insurance system design that takes into account both “breadth” (that is, the number of the population covered) and the benefit package’ s “depth” dimensions, provides better financial risk protection and prevents households from falling into the poverty trap due to the necessity of making costly health expenditures
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hsri-journal-v5n1 ...
ขนาด: 737.1Kb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 0
ปีงบประมาณนี้: 312
ปีพุทธศักราชนี้: 207
รวมทั้งหมด: 1,986
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Articles [1372]

    บทความวิชาการ


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1290]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [232]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV