• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Articles
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Articles
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

การสำรวจการสั่งจ่ายวิตามินและเกลือแร่เสริมแก่หญิงไทยมีครรภ์

อุษณา ตัณมุขยกุล; Utsana Tonmukayakul; สุรสันต์ วิเวกเมธากร; Surasan Vivekmethakorn; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon;
วันที่: 2554-03
บทคัดย่อ
การเสริมไอโอดีนในหญิงมีครรภ์เป็นมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขที่มุ่งขจัดปัญหาการขาดสารไอโอดีนของประชาชนไทย การศึกษานี้ดำเนินการเพื่อสำรวจความคิดเห็นของสูติแพทย์ทั่วประเทศ เกี่ยวกับการเสริมวิตามินและเกลือแร่ในหญิงมีครรภ์ เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประกอบการกำหนดนโยบายการเสริมไอโอดีนในหญิงมีครรภ์ จากการศึกษาพบว่าสูติแพทย์มากกว่าร้อยละ 90 สั่งจ่ายโฟเลตและธาตุเหล็ก และมีเพียงร้อยละ 25 สั่งจ่ายไอโอดีนเสริมให้กับหญิงมีครรภ์ ผู้ที่ตอบว่าปัญหาการขาดธาตุเหล็ก ปัญหาธาลัสซีเมียและปัญหาการขาดโฟเลตมีระดับมากถึงมากที่สุดนั้น มีจำนวนมากกว่าผู้ที่ตอบว่าปัญหาการขาดสารไอโอดีนมีความรุนแรงในระดับมากถึงมากที่สุดคิดเป็น 2-4 เท่า ในขณะที่ข้อมูลทางวิทยาการระบาดพบปัญหาการขาดสารไอโอดีนในเกือบทุกพื้นที่ของประเทศไทย สูติแพทย์ร้อยละ 80 เลือกสูตรยาเม็ดที่มีไอโอดีน โฟเลตและเหล็กรวมอยู่ในเม็ดเดียวกัน จึงเสนอให้มีสูตรยาเม็ดรวมวิตามินและเกลือแร่ที่มีสาร 3 ชนิดนี้สำหรับหญิงมีครรภ์ทั่วไป และยาเม็ดไอโอดีนสำหรับหญิงมีครรภ์ที่เป็นธาลัสซีเมียและเพื่อให้นโยบายนี้ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ จึงแนะนำให้มีการกำหนดแนวทางการเสริมวิตามินและเกลือแร่ที่ชัดเจนแก่หญิงมีครรภ์ และควรมีระบบควบคุม/ติดตาม/กำกับที่เหมาะสมและจริงจัง

บทคัดย่อ
Iodine supplementation is an additional intervention of the Ministry of Public Health that is used to alleviate iodine deficiency disorder among the Thai population. This survey was aimed at examining the opinion of obstetricians nationwide regarding vitamin and mineral supplements for pregnant women. It can be used as input data for formulating national policy on iodine supplementation. Over 90 percent of obstetricians prescribed folate and iron compared with 25 per cent of those prescribing iodine. The number of participants who considered that iron deficiency, thalassemia and folate deficiency comprised a severe or the most severe health problem in their areas of responsibility was 2-4 times greater than those who concerned iodine deficiency to be such a problem. This finding contrasts with epidemiological data showing that iodine deficiency could be found in most of the places. Potassium iodide plus folate and iron tablets were the preference of 90 per cent of obstetricians. Thus, we suggest that the combination of the three minerals should be provided for pregnancies. Iodine only tablet should be prescribed for thalassemic pregnant women. To effectively implement the administration of iodine supplement tablets, guidelides are essential for vitamin and mineral supplementation for pregnancies and good monitoring and evaluation systems are essential.
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hsri-journal-v5n1 ...
ขนาด: 311.4Kb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 0
ปีงบประมาณนี้: 95
ปีพุทธศักราชนี้: 60
รวมทั้งหมด: 900
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Articles [1372]

    บทความวิชาการ


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1290]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [232]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV