• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Articles
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Articles
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

ทัศนคติและการเลือกงานในชนบทของแพทย์จบใหม่

นงลักษณ์ พะไกยะ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; อภิชาติ จันทนิสร์; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษดา ว่องวิญญู; Nonglak Pagaiya; Viroj Tangcharoensathien; Vijj Kasemsup; Apichart Chantanisr; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou;
วันที่: 2555-03
บทคัดย่อ
สถานการณ์การขาดแคลนแพทย์ เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการขาดแคลนแพทย์ในชนบท งานวิจัยนี้จึงศึกษาทัศนคติและปัจจัยที่ทำให้แพทย์เลือกงานในชนบท โดยการเก็บข้อมูลของบัณฑิตแพทย์กลุ่มที่สำเร็จการศึกษาในปี 2554 จำนวน 1,219 คน โดยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ร้อยละ และ logistic regression ผลการศึกษาพบว่าแพทย์ที่เข้าร่วมการศึกษาทั้งหมดเป็นบัณฑิตแพทย์จากระบบปกติ 527 คน จากโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท 313 คน ซึ่งแพทย์ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ยประมาณ 24 ปี กลุ่มแพทย์เพื่อชาวชนบทประมาณครึ่งหนึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตเมือง และส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค ในขณะที่กลุ่มแพทย์ระบบปรกติส่วนใหญ่มีภูมิลำเนาอยู่ในเขตเมือง และสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯและปริมณฑล สำเร็จปัจจัยการเลือกงานของแพทย์จบใหม่ ได้แก่ สถานที่ปฏิบัติงานไม่ไกลจากภูมิลำเนา เอื้อต่อการเพิ่มพูนความรู้และทักษะ และมีการดูแลจากแพทย์พี่เลี้ยง ส่วนของความตั้งใจที่จะเลือกที่ปฏิบัติงานนั้นมีเพียงส่วนน้อยตั้งใจที่จะทำงานในโรงพยาบาลชุมชนภายหลังหมดสัญญาใช้ทุน ซึ่งปัจจัยที่มีความสำคัญกับการเลือกปฏิบัติงานในชนบท คือ ภูมิลำเนาในชนบท และการจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค

บทคัดย่อ
Doctor shortage has long hindered the development of Thai health service system. It is thus crucial to understand attitudes towards working and living in rural areas and factors driving job of choices of doctors. The cross-sectional study conducted with 1,219 newly gradated doctors in 2011 was conducted. Self-administered questionnaire comprising individual characteristic information, questions on attitude towards working and living in rural areas, factors affecting their jobs of choice was used. Statistics used were percentage, and Logistic regression. The results showed that of the population 1,219 (527 from normal track and 313 from rural doctor track), the majority of doctors were female. Half of the rural track doctors were from regional areas, and the majority graduated from regional universities. Whereas, the majority of normal track doctors were from Bangkok and vicinity, and graduated from universities located in Bangkok and vicinity. Factors were likely to affect their job of choices were workplace that : close to their hometown, enhance their learning experience, provide case consultancy. With regards to their intention to work, few of them intended to work at rural areas after 3 year and factors associated with their intention to work in rural areas were: rural background and regional training.
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hsri-journal-v6n1 ...
ขนาด: 281.5Kb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 2
ปีงบประมาณนี้: 91
ปีพุทธศักราชนี้: 51
รวมทั้งหมด: 1,678
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Articles [1366]

    บทความวิชาการ


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV