• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Articles
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Articles
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

การรักษาบรรเทาอาการผู้ป่วยโรคหืดด้วยการฝังไหมเย็บแผล

ชำนาญ สมรมิตร; Chamnan Samornmit;
วันที่: 2550
บทคัดย่อ
ผู้รายงานได้ทำการรักษาผู้ป่วยโรคหืด 14 คน (ชาย 8 คน. หญิง 6 คน) อายุ 35-76 ปี ด้วยการฝังไหมเย็บแผลในช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน 2550 ผู้ป่วยเป็นโรคหืดมาแล้ว 3-8 ปี ได้รับการรักษาด้วยกินยาและพ่นยา วิธีการศึกมาใช้วิธีฝังไหมเย็บแผลแบบละลายได้ไว้ใต้ผิวหนังในบริเวณกลางหลัง 2 เส้น ยาวประมาณ 1-1.5 นิ้ว ระดับเดียวกับกระดูกสันหลัง T2-13 ทำ 2 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน การศึกษาเปรียบเทียบระดับความรุนแรงของอาการหอบหืดและจำนวนการมารับบริการในโรงพยาบาลก่อนและหลังการฝังไหม พบว่าผู้ป่วยทุกรายมีอาการหอบน้อยลง สามารถเปลี่ยนเป็นกลุ่มผู้ป่วยที่ดีขึ้น 12 ใน 14 คน ลดการมารับบริการที่โรงพยาบาลยางชุมได้ทั้งแบบผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน จึงสรุปว่าการฝังไหมอาจเป็นวิธีที่มีประโยชน์ในการรักษาเสริมแก่ผู้ป่วยโรคหืดอีกวิธี

บทคัดย่อ
In the period from March to June 2007, a trial was carried out in 14 asthmatics in order to observe the therapeutic effects on dyspneic symptoms produced by embedding subcutaneously soluble catgut threads. All patients, eight men and six women, aged 35 - 76 years, who had had 3-8 years of asthmatic symptoms, had received treatment with oral bronchodilators and meter-dose inhalers regularly. The treatment technique used soluble chromic catgut No. 0 embedded subcutaneously into an area between the midline of the back and inner border of both scapulae at the level of the T2 and T3 vertebrae twice one month apart. Based on the Classification Asthma Score, pre and post-treatment asthmatic scores were compared. It revealed that the treatment had satisfactorily reduced the asthmatic symptoms in all patients, having improved asthmatic scores in 12 of the 14 patients. The OPD visits and hospitalization were reduced. This therapeutic technique is recommended for an alternative treatment for asthmatic patients.
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hsri-journal-v1n3 ...
ขนาด: 286.0Kb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 3
ปีงบประมาณนี้: 110
ปีพุทธศักราชนี้: 56
รวมทั้งหมด: 954
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Articles [1366]

    บทความวิชาการ


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV