• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Documents/Pocket Books
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Documents/Pocket Books
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

ถอดบทเรียนโครงการอบรมผลิตรายการโทรทัศน์ DEAF ไทยไปเที่ยว : เสียงที่ไม่เคยหายไปจากโลกความเงียบ

มนต์ศักดิ์ ชัยวีระเดช;
วันที่: 2558
บทคัดย่อ
จากจุดเริ่มต้นที่ลองให้คนหูหนวกผลิตหนังสั้น สิ่งหนึ่งที่เห็นได้ชัดผ่านการกระบวนการผลิตหนังสั้นก็คือ คนหูหนวกมีทักษะในการคิดและเล่าเรื่องด้วยภาพ หากพิจารณาให้ดีแล้ว ทักษะการเล่าเรื่องด้วยภาพเป็นทักษะสำคัญทักษะหนึ่งเลยทีเดียวของการผลิตหนังสั้น แสดงว่าหนังสั้นเป็นสื่อที่เหมาะกับลักษณะทางกายภาพของคนหูหนวก เป็นสมมติฐานที่ค้นพบจากการร่วมผลิตหนังสั้น ในครั้งนี้จึงมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตสื่อให้มีความซับซ้อนมากขึ้น เดิมที่ผลิตหนังสั้นที่สามารถเล่าเรื่องง่ายๆ ในประเด็นรอบตัว มาเป็นรูปแบบรายการโทรทัศน์ที่เพิ่มมิติของแนวคิด รูปแบบรายการ การวางแผนการลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อพัฒนาเป็นสคริปต์รายการ ตลอดจนการติดต่อประสานงาน การถ่ายทำ บทบาทพิธีกร การตัดต่อ เป็นต้น และนี่จะเป็นการเรียนรู้ร่วมกันอีกครั้งที่ก้าวข้ามคำว่า “ความพิการ” เพื่อบอกให้คนทั่วไปได้รู้ว่า “ความพิการ” นั้นเป็นเพียงแค่ความแตกต่างรูปแบบหนึ่งเท่านั้น หากเราเรียนรู้และทำความเข้าใจคำว่า “ศักยภาพ” ในมุมมองใหม่ที่หลุดพ้นจากกรอบเดิมๆ เราอยากชวนคุณเปิดสัมผัสทางการให้มากขึ้น แล้วมาเรียนรู้จากการที่ได้ลองสัมผัส “โลกแห่งความเงียบ” ไปด้วยกัน การอบรมในครั้งนี้เป็นการวางรูปแบบสื่อให้เป็นรายการโทรทัศน์ จากคำถามที่ว่าทำไมถึงต้องเป็นรายการโทรทัศน์ เพราะจุดอ่อนของคนหูหนวกคือเรื่องการจับประเด็น หรือความคิดในเชิงการสร้างแนวคิด (concept) ด้วยรูปแบบการผลิตรายการโทรทัศน์มีขั้นตอนที่ซับซ้อนกว่าการผลิตหนังสั้น การผลิตรายการโทรทัศน์มีกระบวนการที่ละเอียดและมีขั้นตอนที่มากกว่า ต้องใช้การบริหารจัดการ การประสานงาน สิ่งเหล่านี้จึงเป็นความท้าทายที่ผสานเข้ากับพลังของคนหูหนวกรุ่นใหม่ในการทำงานประเด็นดังกล่าวให้เกิดการเรียนรู้ไปด้วยกัน
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hs2231.pdf
ขนาด: 1.577Mb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 0
ปีงบประมาณนี้: 0
ปีพุทธศักราชนี้: 0
รวมทั้งหมด: 132
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Documents/Pocket Books [625]

    เอกสารเผยแพร่/พ็อกเกตบุ๊ก


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV