• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

สถานการณ์ Hospice care ในประเทศไทย

จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; พรเลิศ ฉัตรแก้ว; ภรเอก มนัสวานิช; สุรีรัตน์ งามเกียรติไพศาล; ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์; ธนะภูมิ รัตนานุพงศ์; พรทิพย์ ปรีชาไชยวิทย์;
วันที่: 2561-04
บทคัดย่อ
การจัดบริการการบริบาลเพื่อคุณภาพชีวิตระยะท้ายสำหรับผู้ป่วยระยะท้ายในประเทศไทย ยังไม่เป็นที่รู้จักกันกว้างขวาง แต่มีพัฒนาการมาในระดับหนึ่งโดยเฉพาะในระบบบริการการดูแลสุขภาพของรัฐ บริบทของการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในประเทศไทยมีความเฉพาะตัวซึ่งส่งผลต่อการนิยาม Hospice care โดยเฉพาะในเรื่องใครคือผู้ป่วยระยะท้าย พัฒนาการ และจุดเน้นของการดูแลแบบประคับประคอง ตลอดจนรูปแบบที่พบของการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในประเทศไทย ซึ่งควรให้มีการทำความเข้าใจด้วยนิยามที่ชัดเจน และสร้างเสริมความเข้าใจที่สอดคล้องไปกับทิศทางที่ต้องการในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของประเทศ จากการศึกษาโดยการเยี่ยมสำรวจพื้นที่ 12 เขตบริการ การสนทนากับผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้มีประสบการณ์ตรงในการให้การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในประเทศไทย ในระหว่างปี พ.ศ.2559–2560 รวมถึงการเข้าไปศึกษาเชิงลึกในรูปแบบกรณีศึกษาในสถานพยาบาลหลายแห่งที่มีการจัดการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย พบว่า รูปแบบของการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายโดยการดูแลแบบประคับประคองในประเทศไทยมีทั้งที่เป็นบริการผู้ป่วยใน (Inpatient care), บริการผู้ป่วยนอก (Outpatient care) และบริการดูแลสุขภาพผู้ป่วยที่บ้าน (Home health care) กระนั้นพบว่าการจัดบริการเหล่านี้ในประเทศไทยแม้จะแตกต่างกันในเชิงรูปแบบของการให้บริการในการดูแลผู้ป่วย โดยทั่วไปยังคาดหวังหรือมีจุดมุ่งหมายเพื่อการหายจากโรคหรือควบคุมโรคเพื่อสุขภาพในระยะยาวของผู้ป่วย ดังนั้น ความพยายามในการให้นิยามของการจัดบริการการบริบาลเพื่อคุณภาพชีวิตระยะท้าย หรือ Hospice care จึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นนิยามเชิงปฏิบัติการที่เหมาะสมต่อการนำสู่การใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการระบบบริการสุขภาพของประเทศไทยให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hs2436.pdf
ขนาด: 1.768Mb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 1
เดือนนี้: 1
ปีงบประมาณนี้: 21
ปีพุทธศักราชนี้: 13
รวมทั้งหมด: 603
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Research Reports [2469]

    งานวิจัย


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV