dc.contributor.author | หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Hathairat Kosiyaporn | th_TH |
dc.contributor.author | ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์ | th_TH |
dc.contributor.author | Rapeepong Suphanchaimat | th_TH |
dc.contributor.author | สตพร จุลชู | th_TH |
dc.contributor.author | Sataporn Julchoo | th_TH |
dc.contributor.author | มธุดารา ไพยารมณ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Mathudara Phaiyarom | th_TH |
dc.contributor.author | พิกุลแก้ว ศรีนาม | th_TH |
dc.contributor.author | Pigunkaew Sinam | th_TH |
dc.date.accessioned | 2021-12-03T04:29:50Z | |
dc.date.available | 2021-12-03T04:29:50Z | |
dc.date.issued | 2564-09-14 | |
dc.identifier.other | hs2727 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5439 | |
dc.description.abstract | สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทย แรงงานข้ามชาติเป็นประชากรกลุ่มหนึ่งที่ได้รับผลกระทบมากกว่าประชากรกลุ่มอื่น เนื่องจากมีปัญหาของการเข้าถึงระบบสุขภาพและข้อมูลสุขภาพอยู่เดิม ด้วยเหตุนี้ ความเปราะบางของแรงงานข้ามชาติจึงชัดเจนขึ้น โดยเฉพาะในภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข การสื่อสารความเสี่ยงสุขภาพ เป็นสิ่งสำคัญในการควบคุมและป้องกันโรคระบาด นอกจากการสื่อสารเรื่องการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ยังต้องครอบคลุมถึงการสื่อสารนโยบายและมาตรการต่างๆ เพื่อให้ผู้ที่มีความเสี่ยงสามารถตัดสินใจในการปกป้องตนเองและครอบครัวได้ แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีช่องว่างของการศึกษาเรื่องปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารความเสี่ยงสุขภาพ ทั้งปัจจัยระดับสังคม คือ โครงสร้างการสื่อสารความเสี่ยงสุขภาพ ปัจจัยระดับชุมชน คือ กิจกรรมการสื่อสารความเสี่ยงสุขภาพภายในชุมชนและปัจจัยระดับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารความเสี่ยงสุขภาพในกลุ่มแรงงานข้ามชาติ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้จึงจัดทำขึ้นเพื่อทำความเข้าใจปัจจัยดังกล่าวและนำไปสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการสื่อสารความเสี่ยงสุขภาพในกลุ่มแรงงานข้ามชาติ เพื่อตอบสนองต่อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และโรคอุบัติใหม่ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต วิธีการศึกษา การศึกษานี้เป็นแบบผสมวิธีคู่ขนาน (parallel mixed method design) ประกอบด้วยการศึกษาทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ สถานที่ศึกษาวิจัยในการศึกษานี้ คือ 6 ชุมชนแรงงานข้ามชาติในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ระนอง และภูเก็ต โดยเก็บข้อมูลในช่วงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ถึงมิถุนายน พ.ศ. 2564 ในการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ สัมภาษณ์ เชิงลึกผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสื่อสารความเสี่ยงภาพรวมในระดับประเทศและพื้นที่ จำนวน 36 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) และแบบลูกโซ่ (snowball sampling) วิเคราะห์ผลแบบแก่นสาระนิรนัย (deductive thematic analysis) ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ สำรวจแบบสอบถามเรื่องการได้รับข้อมูลที่เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวน 56 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเครือข่ายการสื่อสารในระดับพื้นที่ใน 3 ชุมชน จังหวัดระนองและสมุทรสาคร วิเคราะห์ผลแบบแผนภูมิเครือข่ายสังคมและคำนวณค่าความเป็นศูนย์กลางของข้อมูลในชุมชน (betweenness-and closeness-centrality) และค่าระยะห่างระหว่างแหล่งข้อมูล (mean distance) และสำรวจแบบภาคตัดขวางเกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคล การรับรู้ข้อมูลความเสี่ยงสุขภาพ ความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติตามมาตรการด้านสาธารณสุข ในแรงงานข้ามชาติที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป โดยสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มสองขั้น (cluster sampling) วิเคราะห์ผลเชิงพรรณนา (descriptive analysis) และเชิงอนุมาน (inferential analysis) | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | คนต่างด้าว | th_TH |
dc.subject | แรงงานต่างด้าว | th_TH |
dc.subject | แรงงานข้ามชาติ | th_TH |
dc.subject | Migration | th_TH |
dc.subject | Migrant Workers | th_TH |
dc.subject | Foreign Workers | th_TH |
dc.subject | Health--Management | th_TH |
dc.subject | การจัดการด้านสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Service System | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Care System | th_TH |
dc.subject | COVID-19 (Disease) | th_TH |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) | th_TH |
dc.subject | Coronaviruses | th_TH |
dc.subject | ไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | Coronavirus Infections | th_TH |
dc.subject | การติดเชื้อไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | การสื่อสารความเสี่ยงด้านสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Risk Communication | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.subject | สุขภาพ--ความเสี่ยง | th_TH |
dc.subject | คนต่างด้าว--สุขภาพและอนามัย | th_TH |
dc.subject | คนต่างด้าว--แง่อนามัย | th_TH |
dc.subject | Surveillance | en_EN |
dc.title | ปัจจัยและกลไกในการสื่อสารความเสี่ยงด้านสุขภาพของแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยต่อมาตรการในการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคและมาตรการด้านสาธารณสุขและสังคม กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 | th_TH |
dc.title.alternative | Factors and mechanisms related to health risk communication among migrant workers in Thailand: a case study of surveillance, public health and social measures in COVID-19 epidemic | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Coronavirus disease 2019 (COVID-19) is a new emerging infectious disease that needs effective
risk communication, one of the key components of public health emergency responses. During
the pandemic, migrant workers face many significant challenges especially language and cultural
barriers hampering access to health risk information. This study aims to explore health risk
communication structure and processes, identify the communication network, and explore factors
related to the outcomes of health risk communication practices among migrant workers during
the COVID-19 pandemic in Thailand.
We conducted a mixed-method cross-sectional design on in migrant workers who lived in the
headquarter district of Samut Sakhon, Ranong, and Phuket provinces between November 2020
and June 2021. For qualitative approach, representatives from central and local public health
organisations, non-governmental organisations, local government units, and migrant community
members were purposively recruited with some additional interviewees recruited by snowball
sampling. Thirty-six key informants participated in the semi-structured interview. Deductive
thematic analysis was applied. For quantitative approach, first, we used social network analysis.
Fifty-six respondents from migrant communication were purposively recruited and were asked to
complete the questionnaire. Results from the questionnaires were used to outline sociogram to
assess how the information flew and actors that influenced the data flow most. We also surveyed
a total of 288 migrant workers to evaluate risk communication outcomes and related factors that
affected awareness toward public health measures and self-reported practices during COVID-
19. Logistic regression with robust standard errors were employed.
The findings showed that there were various activities around health risk communication. Though
health risk communication plan viewed migrant workers as a target group, there was no formal
governing body responsible for guiding communication plan. Moreover, there was no monitoring
tool or evaluation process for health risk communication. For social network analysis, migrant
health volunteers and local media were key sources of information. The centrality score was
higher in rural migrant communities compared with the urban ones-implying huge dependency
of communication within limited number of actors in rural areas. For quantitative survey on attitude
and self-reported preventive practices, most of respondents were aware of public health
measures (85%) and performed preventive practices (70%) during COVID-19 pandemic. Frequent reception of health information and having up to primary school education showed a
statistically significant association with preventive practices compared with those who hardly
received health information and the uneducated. Middle-aged migrant workers demonstrated a
significantly lower level of preventive practices than the younger migrant workers. A long stay in
Thailand was significantly related to lower degree of awareness toward public health measures.
In conclusion, clear governing body led by the government with intersectional collaboration, and
active engagement from community members such as migrant health volunteers are key to
effective communication with migrants. Dissemination of information for migrants should be done
through various channels especially local media in migrants’ languages, for instance, print and
online media with consideration of different migrant characteristics and capabilities especially.
The communication strategies should not overlook certain groups of migrants who were likely to
face difficulty in accessing health information (such as elder migrant workers and the uneducated
ones). | en_EN |
dc.identifier.callno | HB886 ห136ป 2564 | |
dc.identifier.contactno | 63-162 | |
dc.subject.keyword | ประชากรข้ามชาติ | th_TH |
dc.subject.keyword | Contact Tracing | |
.custom.citation | หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์, Hathairat Kosiyaporn, ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์, Rapeepong Suphanchaimat, สตพร จุลชู, Sataporn Julchoo, มธุดารา ไพยารมณ์, Mathudara Phaiyarom, พิกุลแก้ว ศรีนาม and Pigunkaew Sinam. "ปัจจัยและกลไกในการสื่อสารความเสี่ยงด้านสุขภาพของแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยต่อมาตรการในการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคและมาตรการด้านสาธารณสุขและสังคม กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5439">http://hdl.handle.net/11228/5439</a>. | |
.custom.total_download | 155 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 23 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 2 | |