Show simple item record

The Effects of Hospital and Home Telerehabilitation Based-Program on the Cardiopulmonary Function in Patients with COVID-19

dc.contributor.authorคมกริบ หลงละเลิงth_TH
dc.contributor.authorKhomkrip Longlalerngth_TH
dc.contributor.authorเนตรชนก เจียรมาศth_TH
dc.contributor.authorNetchanog Jianramasth_TH
dc.contributor.authorนิธิตา ปิยอมรพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorNitita Piya-amornphanth_TH
dc.contributor.authorสาลินี ไชยกูลth_TH
dc.contributor.authorSalinee Chaiyakulth_TH
dc.contributor.authorธนาภรณ์ เสมพืชth_TH
dc.contributor.authorThanaporn Semphuetth_TH
dc.contributor.authorชื่นพักตร์ สาลีสิงห์th_TH
dc.contributor.authorChuenpak Salesinghth_TH
dc.contributor.authorอิทธิภาสน์ ใจเย็นth_TH
dc.contributor.authorEittipad Jaiyenth_TH
dc.contributor.authorวีรนุช นิสภาธรth_TH
dc.contributor.authorVeeranoot Nissapatornth_TH
dc.contributor.authorชัยสิทธิ์ ศิวากรณ์th_TH
dc.contributor.authorChaisith Sivakornth_TH
dc.contributor.authorอนุตรา รัตน์นราทรth_TH
dc.contributor.authorAnuttra (Chaovavanich) Ratnarathonth_TH
dc.date.accessioned2022-11-04T08:20:13Z
dc.date.available2022-11-04T08:20:13Z
dc.date.issued2565-09
dc.identifier.otherhs2899
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5759
dc.description.abstractที่ผ่านมามีผู้เชี่ยวชาญหลายท่านให้คำแนะนำเกี่ยวกับโปรแกรมการรักษาทางกายภาพบำบัดในผู้ป่วยโรคโควิด 19 แต่การศึกษาเกี่ยวกับผลของโปรแกรมฟื้นฟูในรูปแบบการแพทย์ทางไกลในผู้ป่วยโควิด 19 หลังจากออกจากโรงพยาบาลยังมีน้อย จึงเป็นที่มาของการศึกษาครั้งนี้ วัตถุประสงค์: 1) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ ความปลอดภัยและผลของการให้โปรแกรมการรักษาทางกายภาพบำบัดในผู้ป่วยโรคโควิด 19 ในระยะเฉียบพลัน และ 2) เพื่อศึกษาผลของการฟื้นฟูในรูปแบบการแพทย์ทางไกลจากที่บ้านในผู้ป่วยโรคโควิด 19 หลังออกจากโรงพยาบาล รูปแบบงานวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง วิธีการศึกษา: การศึกษานี้แบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 (ระยะผู้ป่วยใน): ผู้เข้าร่วมวิจัย จำนวน 52 ราย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยจับคู่ให้อายุและเพศเท่ากัน ในอัตราส่วน 1:1 ผู้เข้าร่วมวิจัยส่วนใหญ่มีความรุนแรงของโรคระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง โดยในกลุ่มทดลองที่ 1 และกลุ่มทดลองที่ 2 ได้รับโปรแกรมการรักษาทางกายภาพบำบัด 1-2 ครั้ง และทุกวัน ตามลำดับ ตัวแปรที่วัดประกอบด้วย อัตราการรอดชีวิตและอัตราการเสียชีวิต ระยะเวลาการนอนโรงพยาบาล จำนวนผู้ป่วยที่ถูกส่งตัวไปรักษาในห้องไอซียูและภาวะแทรกซ้อน หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ต่อผู้ป่วยและต่อนักกายภาพบำบัด ระยะที่ 2 (ระยะผู้ป่วยนอก): ผู้เข้าร่วมวิจัยในกลุ่มควบคุม จำนวน 26 ราย ได้รับคำแนะนำให้ออกกำลังกายแบบยืดเหยียดกล้ามเนื้อ การฝึกหายใจและการออกกำลังกายอื่นๆ ที่ผู้ป่วยชอบ ผู้เข้าร่วมวิจัยในกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการออกกำลังกายแบบแอโรบิก ร่วมกับการออกกำลังกายแบบมีแรงต้านและการฝึกหายใจเป็นเวลา 3 เดือน ผู้ป่วยกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองจะได้รับการโทรติดตามการออกกำลังกายโดยนักกายภาพบำบัด 1 เดือนต่อครั้ง และสัปดาห์ละครั้งตามลำดับ ตัวแปรที่วัดประกอบด้วย การทดสอบการเดิน 6 นาที การลุกนั่ง 1 นาที การวัดสมรรถภาพปอด ความแข็งแรงกล้ามเนื้อมือ สัดส่วนและองค์ประกอบร่างกายและคุณภาพชีวิตโดยใช้แบบประเมิน SF-36 ผลการศึกษา: ระยะที่ 1 (ระยะผู้ป่วยใน): อัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วย คือ 98% ไม่พบความแตกต่างของระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลระหว่างกลุ่ม มีผู้เข้าร่วมวิจัย 1 รายในกลุ่มที่ได้รับการฟื้นฟูทุกวันที่ถูกส่งตัวไปรักษาในห้องไอซียู มีผู้เข้าร่วมในกลุ่มทดลองที่ 1 และกลุ่มทดลองที่ 2 จำนวน 2 คน และ 4 คนตามลำดับ ที่มีภาวะแทรกซ้อน ไม่มีผู้เข้าร่วมวิจัยรายใดที่เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่ร้ายแรงระหว่างและหลังได้รับการรักษาทางกายภาพบำบัด ไม่มีนักกายภาพบำบัดรายใดที่ติดเชื้อโควิด 19 จากการเข้าไปฟื้นฟูรักษาทางกายภาพบำบัดข้างเตียงผู้ป่วย ระยะที่ 2 (ระยะผู้ป่วยนอก): ไม่มีผู้เข้าร่วมวิจัยของทั้ง 2 กลุ่ม ที่รายงานผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ระหว่างที่ออกกำลังกายที่บ้าน ไม่มีสมรรถภาพทางกายด้านใดที่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างกลุ่ม โดยมีเพียงการทดสอบการเดิน 6 นาที และการทดสอบลุกนั่ง 1 นาที ที่เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับค่าเริ่มต้นในทั้ง 2 กลุ่ม สรุป: ระยะที่ 1 (ระยะผู้ป่วยใน): โปรแกรมการรักษาทางกายภาพบำบัดมีความปลอดภัยและมีความเป็นไปได้สำหรับผู้ป่วยโรคโควิด 19 ในระยะเฉียบพลัน มีความปลอดภัยสำหรับนักกายภาพบำบัด ในอนาคตควรมีการทดลองแบบสุ่มที่มีกลุ่มควบคุมเพื่อยืนยันประโยชน์ของการศึกษาวิจัยระยะที่ 2 (ระยะผู้ป่วยนอก): โปรแกรมการฟื้นฟูด้วยการแพทย์ทางไกลมีความปลอดภัยและมีความเป็นไปได้สำหรับผู้ป่วยโรคโควิด 19 ที่มีความรุนแรงระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง การศึกษาในผู้ป่วยที่มีความรุนแรงของโรคมากขึ้นอาจจะเห็นความแตกต่างของตัวแปรที่วัดมากขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPhysical Therapyth_TH
dc.subjectกายภาพบำบัดth_TH
dc.subjectกายภาพบำบัด--การรักษาth_TH
dc.subjectTelehealthth_TH
dc.subjectTelemedicineth_TH
dc.subjectการแพทย์ทางไกลth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleผลของโปรแกรมการฟื้นฟูที่โรงพยาบาลและการฟื้นฟูทางไกลจากที่บ้านต่อการทำงานของหัวใจและปอด ในผู้ป่วยโรคโควิด 19th_TH
dc.title.alternativeThe Effects of Hospital and Home Telerehabilitation Based-Program on the Cardiopulmonary Function in Patients with COVID-19th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeBackground: There are several recommendations for the role of a physiotherapy program (PTP) in patients with COVID-19. However, the role of PTP in COVID-19 patients with mild to moderate severity during their hospital stay remains limited. In addition, there are lack of studies on the effects of telerehabilitation in COVID-19 after discharge from the hospital. Thus, these are the reason for the current study. Objectives: 1) to determine the feasibility, safety, and effect of PTP programs in acute phase of COVID-19 patients, and 2) to investigate the effect of home-based telerehabilitation (HBT) in COVID-19 patients after discharge from the hospital. Study design: This research was a quasi-experimental study design Methods: This study comprised of two phases. Phase I (In-patient phase): Fifty-two participants were equally assigned into two groups matched on gender and age (1:1 ratio). Most of participants were identified as mild to moderate severity of disease. Experimental Group one (Ex-G1) and Experimental Group two (Ex-G2) received 1-2 times and once a day of PTP, respectively. Outcome measures included the survival and mortality rates, length of hospitalization (LoH), referrals to the intensive care unit (ICU), in-hospital complications, adverse events for patients and the physiotherapists Phase II (Out-patient phase): Participants in the control group (n = 26) were instructed to perform stretching exercises, breathing exercises, and their preferred general exercise program. Participants in experimental group (HBT) (n = 25) received aerobic exercise combined with resisted exercise and breathing exercise for 3 months. Participants in control and experimental group were called by the physiotherapists one time/ month, and one time/ week, respectively for monitoring their exercise program. The outcome measurement comprised of six minutes walk test (6MWT), one minute sit to stand (1MSTS), pulmonary function test (PFT), hand grip dynamometer, body composition, and quality of life (SF-36). Results: Phase I (In-patient phase): The overall survival rate was 98%. There was no difference in LoH between groups. One participant from the Ex-G2 was referred to the ICU. Two and four of the participants had complications in Ex-G1 and Ex-G2, respectively. There were no participants who had serious adverse events during and immediately after PTP. None of the physiotherapists tested positive for COVID-19 after performed bedside PTP. Phase II (Out-patient phase): None of participants of both groups reported of any adverse events during performed their exercise at home. There were no physical fitness components found significant differences between the group. 6MWT, and 1MSTS, were significantly increased compared to the baseline of both groups. Conclusions Phase I: The PTP is safe and feasible for COVID-19 patients in the acute phase, and safe for physiotherapists. A randomized controlled group should be confirmed the beneficial effects in the future. Phase II: The HBT is safe and feasible for patients with mild to moderate severity of COVID- 19. The higher degree of COVID-19 severity might have seen the differences in outcome measurements.th_TH
dc.identifier.callnoWC503 ค144ผ 2565
dc.identifier.contactno64-184
dc.subject.keywordPhysiotherapy Programth_TH
dc.subject.keywordPTPth_TH
dc.subject.keywordHome-Based Telerehabilitationth_TH
dc.subject.keywordHBTth_TH
.custom.citationคมกริบ หลงละเลิง, Khomkrip Longlalerng, เนตรชนก เจียรมาศ, Netchanog Jianramas, นิธิตา ปิยอมรพันธุ์, Nitita Piya-amornphan, สาลินี ไชยกูล, Salinee Chaiyakul, ธนาภรณ์ เสมพืช, Thanaporn Semphuet, ชื่นพักตร์ สาลีสิงห์, Chuenpak Salesingh, อิทธิภาสน์ ใจเย็น, Eittipad Jaiyen, วีรนุช นิสภาธร, Veeranoot Nissapatorn, ชัยสิทธิ์ ศิวากรณ์, Chaisith Sivakorn, อนุตรา รัตน์นราทร and Anuttra (Chaovavanich) Ratnarathon. "ผลของโปรแกรมการฟื้นฟูที่โรงพยาบาลและการฟื้นฟูทางไกลจากที่บ้านต่อการทำงานของหัวใจและปอด ในผู้ป่วยโรคโควิด 19." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5759">http://hdl.handle.net/11228/5759</a>.
.custom.total_download74
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month4
.custom.downloaded_this_year10
.custom.downloaded_fiscal_year24

Fulltext
Icon
Name: hs2899.pdf
Size: 2.660Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record