การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันระยะเฉียบพลันด้วยสายสวนหลอดเลือดสมอง
dc.contributor.author | ธนบูรณ์ วรกิจธำรงค์ชัย | th_TH |
dc.contributor.author | Thanaboon Worakijthamrongchai | th_TH |
dc.contributor.author | ประสูตร ถาวรชัยสิทธิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Prasutr Thawornchaisit | th_TH |
dc.contributor.author | สุคนธา คงศีล | th_TH |
dc.contributor.author | Sukhontha Kongsin | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-12-29T03:58:30Z | |
dc.date.available | 2022-12-29T03:58:30Z | |
dc.date.issued | 2565-12 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 16,4 (ต.ค. - ธ.ค. 2565) : 472-487 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5789 | |
dc.description.abstract | การรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขนาดใหญ่ตีบหรืออุดตันระยะเฉียบพลันด้วยสายสวนหลอดเลือดสมองเป็นมาตรฐานในการรักษาและมีประสิทธิผล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนอรรถประโยชน์ของการรักษาผู้ป่วยด้วยสายสวนหลอดเลือดสมอง โดยการเก็บข้อมูลย้อนหลังในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันระยะเฉียบพลันในสถาบันประสาทวิทยาที่รักษาด้วยสายสวนหลอดเลือดสมอง กับที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำในปี พ.ศ. 2558-2563 พบว่า ผู้ป่วยทั้งหมด 106 ราย รักษาด้วยสายสวนหลอดเลือดสมอง 66 ราย กับรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ 40 ราย มีต้นทุนรวมของการรักษาด้วยสายสวนหลอดเลือดสมองและการรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ เท่ากับ 568,587 บาท และ 121,582 บาทตามลำดับ โดยผู้ป่วยทั้งเพศชายและหญิงที่รักษาด้วยสายสวนหลอดเลือดสมองมีผลลัพธ์ทางสุขภาพในรูปของปีสุขภาวะสูงกว่าผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ สำหรับอัตราส่วนต้นทุนประสิทธิผลส่วนเพิ่มของการรักษาด้วยสายสวนหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยเพศชายเท่ากับ 99,184 บาท ต่อปีสุขภาวะ และในผู้ป่วยเพศหญิงเท่ากับ 82,715 บาท ต่อปีสุขภาวะ สรุปผลการศึกษา: การรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันระยะเฉียบพลันด้วยสายสวนหลอดเลือดสมองมีความคุ้มค่าที่ความเต็มใจจ่ายในบริบทประเทศไทย 160,000 บาท ต่อปีสุขภาวะ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Stroke | th_TH |
dc.subject | Stroke Patients | th_TH |
dc.subject | โรคหลอดเลือดสมอง | th_TH |
dc.subject | โรคหลอดเลือดสมอง--ผู้ป่วย | th_TH |
dc.subject | ต้นทุนต่อหน่วย | th_TH |
dc.subject | Cost--Analysis | th_TH |
dc.subject | Cost-Benefit Analysis | th_TH |
dc.subject | การวิเคราะห์ความคุ้มทุน | th_TH |
dc.subject | บริการทางการแพทย์--การวิเคราะห์ต้นทุน | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันระยะเฉียบพลันด้วยสายสวนหลอดเลือดสมอง | th_TH |
dc.title.alternative | Cost-Utility Analysis of Mechanical Thrombectomy for Acute Ischemic Stroke | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The mechanical thrombectomy (MT) is the established standard and effective treatment for large vessel occluded stroke patients. This research aimed to analyze whether MT was cost-effective when compared with intravenous thrombolysis (IVT). This was a retrospective cohort study, reviewing medical records of acute ischemic stroke patients with large vessel occlusion during 2015-2020. The study included 106 stroke patients treated with MT (n=66) versus IVT (n=40). The total cost of MT and IVT were estimated at 568,587 baht and 121,582 baht, respectively. Both male and female patients treated with MT had a greater quality-adjusted life years (QALYs) compared to those treated with IVT. The incremental cost-effectiveness ratios for male and female patients treated with MT were 99,184 and 82,715 baht per QALY gained, respectively. Conclusion: This study demonstrates that MT was cost-effective for treating acute ischemic stroke judging against the willingness to pay of 160,000 baht per QALY of Thailand. | th_TH |
.custom.citation | ธนบูรณ์ วรกิจธำรงค์ชัย, Thanaboon Worakijthamrongchai, ประสูตร ถาวรชัยสิทธิ์, Prasutr Thawornchaisit, สุคนธา คงศีล and Sukhontha Kongsin. "การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันระยะเฉียบพลันด้วยสายสวนหลอดเลือดสมอง." 2565. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5789">http://hdl.handle.net/11228/5789</a>. | |
.custom.total_download | 938 | |
.custom.downloaded_today | 1 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 505 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 42 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ