• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Articles
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Articles
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

การพัฒนาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล

สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supatra Srivanichakorn;
วันที่: 2550
บทคัดย่อ
ปัญหาความแออัดในโรงพยาบาลขนาดใหญ่เกิดจากผู้ใช้บริการมากกว่าครึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตเมือง แม้มีปัญหาสุขภาพที่สถานพยาบาลและแพทย์ทั่วไปสามารถบริการได้ ไม่จำเป็นต้องพบแพทย์เฉพาะทาง แต่เมื่อไปรักษาที่หน่วยแพทย์ใกล้บ้านแล้วไม่ทุเลา หรือไม่ศรัทธาในคุณภาพ ประกอบกับในเขตเมืองยังมีหน่วยบริการปฐมภูมิไม่ครอบคลุมเพียงพอ ดังนั้นวิธีแก้ปัญหาความแออัดของโรงพยาบาลที่สำคัญ คือการพัฒนาบริการปฐมภูมินอกโรงพยาบาลใหญ่ให้มีคุณภาพที่ยอมรับ และสามารถดูแลต่อเนื่องทดแทนโรงพยาบาลได้ นอกจากนั้นสมควรทำการวิเคราะห์ข้อมูลให้ทราบว่าความแออัดเกิดขึ้นที่แผนกใด ช่วงเวลาใด จะได้แก้ไขลดความแออัดได้อย่างสอดคล้อง สำหรับกรณีผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง หรือโรคเรื้อรังที่มีสถานภาพเวชกรรมคงที่ ควรจัดระบบดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นการเฉพาะและมีประสิทธิภาพ เช่น จัดการดูแลร่วมกันกับหน่วยบริการปฐมภูมิ และอาจเปิดบริการรับยาต่อเนื่องจากร้านยาคุณภาพนอกโรงพยาบาล ก็เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ช่วยลดความแออัดได้ นอกจากนี้ในการแก้ปัญหาความแออัดในโรงพยาบาลต้องมีทีมรับผิดชอบจัดการเรื่องนี้อย่างต่อเนื่อง จริงจังโดยเฉพาะ

บทคัดย่อ
Overcrowding in hospitals’ out-patient sectors is a chronic problem of public hospitals in Thailand. Patient visitors have to wait for a long time no matter how serious their illnesses. A reasonable step in solving this problem is to understand the nature of the attendants, i.e., who they are and why they come. It is known that over half of the visitors live in the local district; they come with every type of problem; most of the problems could be taken care of by practical nurses and general practitioners. The reasons for attending the hospital include ineffective treatment at primary care units, and inconvenience because there are not enough primary care units to cover the areas, and their quality is not well accepted. Therefore, an important approach to solving hospital overcrowding is strengthening the function of primary care units and forming them into a hospital network. Further, management is needed to find out which outpatient sections are crowded and when, so that supplemental services could be organized accordingly. Among the top five outpatients are those with diabetes mellitus and hypertension; these are chronic lifetime patients. Thus, the service system for this group should be organized specifically and efficiently by linking the provision of care with primary care units and/or private dispensaries to relieve the patient pressure on big hospitals. Ultimately, owing to the complexity and variability of the problem, ad hoc teams should be established specifically to be responsible for managing and monitoring the system effectively
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hsri-journal-v1n3 ...
ขนาด: 433.8Kb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 0
ปีงบประมาณนี้: 484
ปีพุทธศักราชนี้: 279
รวมทั้งหมด: 4,823
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Articles [1372]

    บทความวิชาการ


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1290]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [232]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV