Now showing items 5171-5190 of 5686

    • อัตราการพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวานและการศึกษาความสัมพันธ์เกี่ยวกับปัจจัยการนอนหลับและระดับกรดยูริคในเลือดกับระดับ HbA1c ในเลือดในผู้ที่มีภาวะ pre-diabetes 

      ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; ดำรงรัตน์ เลิศรัตนานนท์; Dumrongrat Lertrattananon; อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร; Ammarin Thakkinstian (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      โรคเบาหวานเป็นโรคที่พบบ่อยในประชากรไทยและมีแนวโน้มที่จะพบสูงขึ้นเรื่อยๆ ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด, โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย, โรคเส้นเลือดในสมองตีบ, และโรคมะเร็ง ดังนั้นการป้องกันไม ...
    • อัตราการใช้เข็มขัดนิรภัยในผู้ขับขี่รถยนต์ใน 4 จังหวัด, ประเทศไทย พ.ศ.2539 

      วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekplakorn; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; อมรรัตน์ โพธิพรรค; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์; กุลยา นาคสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      โครงการศึกษาอัตราการใช้เข็มขัดนิรภัยในผู้ขับขี่รถยนต์ใน 4 จังหวัด, ประเทศไทย พ.ศ.2539การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการคาดเข็มขัดนิรภัยในคนขับรถยนต์ และผู้โดยสารด้านหน้าของรถยนต์ประเภทต่าง ๆ ใน 4 จังหวัด คือ ...
    • อัตราความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความผิดปรกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างในคนงานไร่อ้อย 

      ทวีสิน ธีระธนานนท์; สุนทร ศุภพงษ์; นรินทร์ หิรัญสุทธิกุล; Thaveesin Teeratananon; Soontorn Supapong; Narin Hiransuthikul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
      การศึกษานี้เป็นการศึกษาภาคตัดขวาง เพื่อหาอัตราความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างในคนงานไร่อ้อย โดยทำการเก็บข้อมูลในช่วงเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม พ.ศ.2552 ใช้แบบสัมภาษณ์ที่ปรับปรุงมาจาก ...
    • อัตราค่ารักษาทางทันตกรรมจัดฟันผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่และการเบิกจ่าย 

      เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying; ดวงเดือน วีระฤทธิพันธ์; Doungdoen Veerarittiphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) จ่ายค่าจัดฟันผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ให้หน่วยบริการแบบเหมาจ่ายครั้งเดียว 48,000 บาทตลอดชีวิตผู้ป่วยแม้ว่ายังอยู่ในระหว่างการจัดฟัน เมื่อผู้ป่วยบางคนมีความจำเป็นต้องย้ายที่อยู่และร ...
    • อัตราตายระดับจังหวัด พ.ศ. 2548 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; ณรงค์ กษิติประดิษฐ์; อรพิน ทรัพย์ล้น (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-11)
      อัตราตาย ระดับจังหวัด มีความสำคัญในการใช้เปรียบเทียบ ความแตกต่างของการตายโดยเฉพาะรายสาเหตุ ระหว่างจังหวัด ซึ่งจะช่วยในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาพของจังหวัด และช่วยในการวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพ รวมทั้งจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ ...
    • อัตราตายระดับจังหวัด พ.ศ. 2549 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; ณรงค์ กษิติประดิษฐ์; อรพิน ทรัพย์ล้น (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-12)
      อัตราตาย ระดับจังหวัด มีความสำคัญในการใช้เปรียบเทียบ ความแตกต่างของการตายโดยเฉพาะรายสาเหตุ ระหว่างจังหวัด ซึ่งจะช่วยในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาพของจังหวัด และช่วยในการวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพ รวมทั้งจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ ...
    • อัตราตายระดับจังหวัด พ.ศ.2547 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; ณรงค์ กษิติประดิษฐ์; อรพิน ทรัพย์ล้น (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-04)
      อัตราตาย ระดับจังหวัด มีความสำคัญในการใช้เปรียบเทียบ ความแตกต่างของการตายโดยเฉพาะรายสาเหตุ ระหว่างจังหวัด ซึ่งจะช่วยในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาพของจังหวัด และช่วยในการวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพ รวมทั้งจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ ...
    • อัตราเหมาจ่ายรายหัวชุดสิทธิประโยชน์กรณีส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2546 

      วลัยพร พัชรนฤมล; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การกำหนดอัตราเหมาจ่ายในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า สำหรับปีงบประมาณ 2545 นั้น มีข้อจำกัด 3 ประการ เนื่องจาก ข้อมูลรายละเอียดของชุดสิทธิประโยชน์ ประชา่กรเป้าหมายของกิจกรรมเฉพาะและต้นทุนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคยังไม่ชัดเจน ...
    • อัตราเหมาจ่ายรายหัวปีงบประมาณ 2548 การปรับวิธีประมาณการครั้งใหญ่ 

      วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคำนวณอัตราเหมาจ่ายปีงบประมาณ 2548 โดยใช้หลักการคำนวณเช่นเดียวกับปี 2545-2547 แต่ปรับห้วงเวลาของฐานข้อมูลอัตราการใช้บริการและต้นทุนให้เป็นปี 2548 ในการศึกษาอัตราการใช้บริการแบบผู้ป่วยนอก ...
    • อัตราเหมาจ่ายรายหัวในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2546 

      ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การเปลี่ยนแปลงอัตราการเจ็บป่วยของประชาชนไทยและต้นทุนสถานพยาบาลระดับต่างๆ เป็นแรงกดดันให้มีการปรับอัตราเหมาจ่ายรายหัวในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2546 ให้มีความเหมาะสมมากขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื ...
    • อัตลักษณ์ของระบบและนโยบายสุขภาพไทย 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      ด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลก การควบคุมการระบาดของโรคโควิดในประเทศไทยติดอันดับดีที่สุด 1-3 ของโลก จากความสำเร็จดังกล่าว ซึ่งเป็นข้อสรุปจากปรากฏการณ์ที่ประจักษ์ชัดว่าการที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ...
    • อาการปวดและการทำงานของกล้ามเนื้อ คอ ไหล่ แผ่นหลังส่วนบนและแขนส่วนบน ขณะใช้งาน Smartphone ในผู้หญิงอายุ 18-25 ปี 

      ภัทริยา อินทร์โท่โล่; Pattariya Intolo; ณัฐชยา สิรินิลกุล; Natchaya Sirininlakul; ณัฐริกานต์ ศักดิ์สนิท; Nattarikan Saksanit; พิชญา คงดนตรี; Pichaya Kongdontree; พิมพ์พิสุทธิ์ ธุวาทร; Phimpisut Thuwatorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      ปัญหาสุขภาพจากการใช้ smartphone เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง การป้องกันมีความสำคัญและเร่งด่วน วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้คือ เพื่อศึกษาอาการปวดและการทำงานของกล้ามเนื้อบริเวณคอ ไหล่ แผ่นหลังส่วนบนและแขนส่วนบน ขณะใช้งาน ...
    • อาคารสูง : ผลกระทบต่อสุขภาพและอนาคตของเมืองเชียงใหม่ 

      ดนัย กล่าวแล้ว; ดวงจันทร์ อาภาวัชรุตม์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, มูลนิธิสถาบันพัฒนาเมือง, 2546-05)
      หนังสือ อาคารสูง : ผลกระทบต่อสุขภาพและอนาคตของเมืองเชียงใหม่ เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาต่อเนื่องมาจากโครงการวิจัย เรื่อง การประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากอาคารสูงเมืองเชียงใหม่ แบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 กล่าวให้เห็นถึ ...
    • อาชญากรเด็ก? 

      อรสม สุทธิสาคร; Orasom Suthisakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • อาชีวอนามัย-ความสำคัญของการตรวจสุขภาพ 

      พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การตรวจสุขภาพในความหมายที่ใช้กันในวงการอาชีวอนามัย อาจพิจารณาได้ว่าประกอบด้วย 1. การตรวจก่อนบรรจุเป็นพนักงาน 2. การตรวจก่อนบรรจุเข้าตำแหน่งหรือก่อนย้ายแผนกงาน 3. การตรวจเป็นระยะๆ มักจะเป็นการตรวจประจำปี 4. การตรวจเพื่อปร ...
    • อายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาวะของประชาชนเขตสุขภาพที่ 3 ปี พ.ศ. 2565 

      ศักดา ทองดีเพ็ง; Sakda Tongdeepeng; พนิดา ประทุมวัน; Panida Pratumwan; ปิยะวัฒน์ หนูกลัด; Piyawat Hnuklud (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาวะของประชาชนในเขตสุขภาพที่ 3 ปี พ.ศ. 2565 และจัดลำดับโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญในเขตสุขภาพที่ 3 เป็นวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง คำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรทาโร่ยามาเน่ ...
    • อาสาสมัครสาธารณสุข : ศักยภาพและบทบาทในบริบทสังคมไทยที่เปลี่ยนไป 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup; ปารณัฐ สุขสุทธิ์; Paranat Suksut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หรือ อสม. เป็นรูปแบบสำคัญของการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสาธารณสุขตามนโยบายสาธารณสุขมูลฐานที่มีการดำเนินการมานานกว่า 3 ทศวรรษ การศึกษาชิ้นนี้เป็นการประเมินศักยภาพและบทบาทของ อสม. ในบริบทสังคมไท ...
    • อำนาจของการตัดสินใจในการวางแผนครอบครัวโดยผ่านมุมมองด้านเพศของชนเผ่าลาหู่ หมู่ที่ 8 บ้านปางมะหัน ตำบลเทอดไทย 

      ฤทธิรงค์ หน่อแหวน (สถานีอนามัยปางมะหันต์, 2552-07-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 1 : R2R in Primary care แนะนำ 10 ผลงาน R2R ดีเด่น ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิจัยวันที่ ...
    • อิฐก้อนแรก : บทเรียนอนามัยไปท้องถิ่น 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; โอปอล์ ประภาวดี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      การกระจายอำนาจทางด้านสุขภาพเป็นวิธีการหนึ่งของการปฏิรูประบบสุขภาพของหลายประเทศ ด้วยฐานความเชื่อที่ว่าอาจชักนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบสุขภาพที่ดีขึ้นในด้านคุณภาพ ประสิทธิภาพและความเป็นธรรม ประเทศไทยเองก็มีการดำเนินการด้า ...