Now showing items 21-33 of 33

    • จีโนมิกส์ ประเทศไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      Infographic แนะนำแผนงานจีโนมิกส์ ประเทศไทย (Genomics Thailand) การแพทย์จีโนมิกส์ คือ การแพทย์ที่อาศัยเทคโนโลยีพันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล เพื่อประเมินความเสี่ยง วินิจฉัย และพยากรณ์โรค วิสัยทัศน์ คือ ประเทศไทยเป็นผู้นำด้านการ ...
    • จีโนมิกส์ของเชื้อ Methicillin-resistant Staphylococcus aureus สายพันธุ์ที่มีกำเนิดในโรงพยาบาล ชุมชน และปศุสัตว์ เพื่อการประยุกต์ใช้ทางการแพทย์และสาธารณสุข 

      อุษณีย์ วัฒนนันท์กุล; Usanee Wattananandkul; ศิริพงษ์ ตองใจ; Siripong Tongjai; ปาริชาติ สาลี; Parichat Salee; นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล; Nongyao Kasatpibal; วสันต์ กาติ๊บ; Wasan Katip; หทัยรัตน์ ธนัญชัย; Hathairat Thananchai; ผดุงเกียรติ แข็มน้อย; Phadungkiat Khamnoi; ขจรศักดิ์ ตระกูลพัว; Khajornsak Tragoolpua; กัญญา ปรีชาศุทธิ์; Kanya Preechasuth (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      เชื้อ Methicillin-Resistant Staphylococcus Aureus (MRSA) เป็นหนึ่งในแบคทีเรียดื้อยาสำคัญ เนื่องจากมีความหลากหลายทางพันธุกรรมและระบาดวิทยาสูง พบได้ทั่วโลกและสามารถทำให้เกิดการติดเชื้อได้ทั้งในโรงพยาบาล ชุมชนและปศุสัตว์ ...
    • ทราบได้อย่างไรว่ามะเร็งเต้านมที่เป็นอยู่มีสาเหตุมาจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรมหรือไม่ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)
      การวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเต้านมและมีลักษณะทางคลินิกอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1. อายุเมื่อแรกวินิจฉัยไม่เกิน 45 ปี 2. อายุเมื่อแรกวินิจฉัยระหว่าง 40-50 ปี และมีญาติใกล้ชิด อย่างน้อย 1 คน เป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งตับอ่อน ...
    • ธนาคารออกานอยด์มะเร็งตับและท่อน้ำดีไทย และฐานข้อมูลพันธุกรรมเชิงลึกสำหรับการหาตัวชี้วัดชีวภาพและพัฒนาการรักษาแบบจำเพาะต่อผู้ป่วย 

      นิพัญจน์ อิศรเสนา ณ อยุธยา; Nipan Israsena Na Ayudhaya; พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์; Pisit Tangkijvanich; สิระ ศรีสวัสดิ์; Sira Sriswasdi; แพรวพรรณ อิงรุ่งเรืองเลิศ; Praewphan Ingrungruanglert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      มะเร็งตับเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ การรักษาปัจจุบันยังได้ผลไม่ดีเท่าที่ควร ทำให้มีผู้ป่วยจำนวนมากเสียชีวิตจากโรคนี้ เมื่อไม่นานมานี้เกิดเทคโนโลยีใหม่ทำให้สามารถเพาะมะเร็งตับของผู้ป่วยในรูปแบบสามมิติที่เรียกว่าออกานอยด์ ...
    • นำร่องการวิจัยสำหรับจีโนมิกส์ประเทศไทย: การศึกษาข้อมูลรหัสพันธุกรรมของผู้ป่วยมะเร็งชาวไทย 

      มานพ พิทักษ์ภากร; Manop Pithukpakorn; ชนพ ช่วงโชติ; Shanop Shuangshoti; ชินโชติ ธีรภัคภิญโญ; Chinachote Teerapakpinyo; นุสรา สัตย์เพริศพราย; Nusara Satproedprai; วสันต์ จันทราทิตย์; Wasun Chantratita; จันทนา ผลประเสริฐ; Chantana Polprasert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของประชากรไทย โดยมะเร็งเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมของเซลล์ การกลายพันธุ์ของยีนก่อมะเร็งที่พบสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด อันได้แก่ การกลายพันธุ์ที่เกิดขึ้นเองในเนื้อเยื่อปกติ (somatic ...
    • ระบาดวิทยาจีโนมของเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli และ Klebsiella pneumoniae ที่ดื้อทั้งยาคาร์บาพีเนมและโคลิสตินที่ก่อการระบาดในโรงพยาบาลของประเทศไทย 

      อนุศักดิ์ เกิดสิน; Anusak Kerdsin; รุจิรัตน์ หาตรงจิตต์; Rujirat Hatrongjit; พีชานิกา ชอบจิตต์; Peechanika Chopjit; ปาริชาติ บัวโรย; Parichart Boueroy; ธิดาทิพย์ วงศ์สุรวัฒน์; Thidathip Wongsurawat; พิรุณ เจนเจริญพันธ์; Piroon Jenjaroenpun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      ในการศึกษาวิจัยนี้ได้ดำเนินการถอดรหัสจีโนมเชื้อ จำนวน 116 สายพันธุ์ แบ่งเป็นเชื้อ CRE ที่แยกได้จากคนที่ดื้อยาโคลิสติน หรือมียีนดื้อยาโคลิสตินชนิด mcr จำนวน 100 สายพันธุ์ และเชื้อ Enterobacterales ที่แยกได้จากสัตว์ ...
    • วิจัยสู่ชุดสิทธิประโยชน์ ตรวจยีนมะเร็งเต้านม บริการการแพทย์แม่นยำเพื่อคนไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)
      โครงการวิจัยการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจยีน BRCA1/BRCA2 ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ เพื่อตรวจหาผู้ที่เป็นมะเร็งที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในประเทศไทย เป็นงานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสถาบัน ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ ในผู้ป่วยไทยที่ได้รับการปลูกถ่ายไต 

      ชาครีย์ กิติยากร, หม่อมหลวง; Chagriya Kitiyakara, M.L. (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12-28)
      การปลูกถ่ายไต (Kidney transplantation : KT) ช่วยยืดอายุผู้ป่วยไตวาย KT จำเป็นต้องใช้สารกดภูมิคุ้มกัน เช่น Tacrolimus (TAC) และ Mycophenolate mofetil (MMF) เพื่อป้องกันการปฏิเสธไตของผู้บริจาค ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการสูญเสียไต ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดรุนแรงจากยาที่เป็นสาเหตุหลักในประเทศไทย (ปีที่ 2) 

      นนทญา นาคคำ; Nontaya Nakkam; วิจิตรา ทัศนียกุล; Wichittra Tassaneeyakul; สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkao; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem; ศิริมาศ กาญจนวาศ; Sirimas Kanjanawart; ปริญญา คนยัง; Parinya Konyoung; กันยารัตน์ แข้โส; Kanyarat Khaeso (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      อาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดรุนแรงจากยา (Severe Cutaneous Adverse Drug Reactions, SCARs) จัดเป็นอาการไม่พึงประสงค์ที่มักไม่สัมพันธ์กับฤทธิ์หรือขนาดยา ซึ่งมีอันตรายรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้ โดยยาที่เป็นปัญหาสำคัญอันดับต้นๆ ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ของยา 5-ฟลูออโรยูราซิลกับผลกระทบทางคลินิกในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักไทย 

      เฉลิมพร อรรถศิลป์; Chalirmporn Atasilp; นิภาภรณ์ แสนคุณท้าว; Nipaporn Sankuntaw; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem; เอกภพ สิระชัยนันท์; Ekaphop Sirachainan; ธัญนันท์ เรืองเวทย์วัฒนา; Thanyanan Reungwetwattana; พิชัย จันทร์ศรีวงศ์; Phichai Chansriwong; อภิชญา พวงเพ็ชร์; Apichaya Puangpetch; พัชริยา พรรณศิลป์; Phatchariya Phannasil; ปฐมพงษ์ สถาพรพงษ์; Patompong Satapornpong; มนพัทธ์ ชำนาญพล; Monpat Chamnanphon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      ความสำคัญงานวิจัยชิ้นนี้คือ การเกิดความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีน Dihydropyrimidine Dehydrogenase (DPYD) มีความสัมพันธ์กับการเกิดพิษจากการใช้ยา 5-ฟลูออโรยูราซิล ร่วมกับการแสดงออกของ miRNA ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเอนไซม์ ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ของยากลุ่ม Thiopurine ในผู้ป่วยเด็กมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมโฟบลาสต์ 

      อภิชญา พวงเพ็ชร์; Apichaya Puangpetch; สามารถ ภคกษมา; Samart Pakakasama; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem; อุษณรัสมิ์ อนุรัฐพันธ์; Usanarat Anurathapan; การันต์ ไพสุขศาสนติวัฒนา; Karan Paisooksantivatana; สุภาพร วิวัฒนากุล; Supaporn Wiwattanakul; ลลิตา สาธิตสมิตพงษ์; Lalita Sathitsamitphong; อังคณา วินัยชาติศักดิ์; Angkana Winaichatsak; ปิติ เตชะวิจิตร์; Piti Techavichit; ปิยะ รุจกิจยานนท์; Piya Rujkijyanont; อาณัฐชัย ม้ายอุเทศ; Arnatchai Maiuthed; ภัทรวิทย์ รักษ์ทอง; Pattarawit Rukthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน Lymphoblastic (Acute Lymphoblastic Leukemia, ALL) เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็กที่พบบ่อยที่สุด ซึ่งได้รับการวินิจฉัยในเด็ก คิดเป็นร้อยละ 25 ของมะเร็งทั้งหมดในเด็ก การรักษาโดยทั่วไปประกอบด้วย ...
    • แผนปฏิบัติการ บูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย Genomics Thailand (พ.ศ. 2563-2567) 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      Infographic แผนปฏิบัติการ แผนงานจีโนมิกส์ ประเทศไทย (Genomics Thailand) พ.ศ. 2563-2567
    • โมเดลมะเร็งออร์แกนอยด์จากผู้ป่วยมะเร็งของอวัยวะแบบที่เป็นก้อนในเด็กและสตรีเพื่อทดสอบประสิทธิภาพการต้านมะเร็งของคอมพาวด์ขนาดเล็ก 

      รสสุคนธ์ แก้วขาว; Rossukon Kaewkhaw; ณฐินี จินาวัฒน์; Natini Jinawath; ดวงเนตร โรจนาภรณ์; Duangnate Rojanaporn; ประกาศิต จิรัปปภา; Prakasit Chirappapha; รังสิมา อรุณโรจน์; Rangsima Aroonroch; อรรถพล ศรีมงคล; Atthapol Srimongkol; ณัฐนันท์ เหล่าศิลปเจริญ; Natanan Laosillapacharoen; Sari, Ariestya Indah Permata; ดวงพร แสงวิมล; Duangporn Saengwimol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)
      โมเดลตัวแทนผู้ป่วยเป็นสิ่งสำคัญเพื่อการค้นพบยาและการรักษาที่มีประสิทธิภาพ ปัจจุบัน Organoid Technology ช่วยให้เราสามารถสร้างโมเดลเซลล์ที่มีลักษณะสามมิติคล้ายเนื้อเยื่อขนาดเล็ก งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างโมเดลเ ...