• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 21-40 จาก 1292

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • กลไก นโยบาย และบทบาทของส่วนต่างๆ ในสังคม เกี่ยวกับการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ 

      สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; Somsak Chunharas; พินทุสร เหมพิสุทธิ์; Pintusorn Hempisut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544-01)
    • กลไกการกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ในประเทศไทย: สภาพการณ์ ปัญหา และข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป 

      ปกป้อง จันวิทย์; Pokpong Junvith; ตะวัน มานะกุล; Tawan Manakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      โครงการวิจัยนี้มุ่งแสวงหาคำตอบว่า ‘แพทยสภา’ ในฐานะกลไกการกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ที่เป็นทางการของไทย สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีธรรมาภิบาล มีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล สมดังเจตนารมณ์ในการกำกับควบคุมการประกอบวิชาชีพเ ...
    • กลไกการประมวลสถานการณ์และการสนับสนุนงานวิชาการนโยบายและระบบสุขภาพ: กรณีการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; วิมลรัตน์ ถนอมศรีเดชชัย; Wimonrat Tanomsridachchai; ธนินทร์ พัฒนศิริ; Thanin Pattanasiri; ศักดิธัช อิทธิพิสิฐ; Sakditat Ittiphisit; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)
      โครงการนี้มีจุดประสงค์ที่จะพัฒนารูปแบบหรือกลไกการสนับสนุนทางวิชาการ สำหรับการตัดสินใจประเด็นเชิงนโยบายที่มีความซับซ้อนมีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายในระยะเวลาที่จำกัด โดยในโครงการนี้จะใช้ประเด็นการถ่ายโอนภารกิจสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ...
    • กลไกการใช้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ และด้านการเงินและบัญชี เพื่อการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและระดับจังหวัด และประเมินระบบสุขภาพของจังหวัด 

      ศศิธร ธนะภพ; Sasithon Tanapop; อรทัย เขียวเจริญ; นิลวรรณ อยู่ภักดี; พารุณี ยิ้มสบาย; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธาณสุข, 2549)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำฐานข้อมูลสุขภาพประชาชนรายบุคคลภายในจังหวัด เชื่อมโยงระหว่างความจำเป็นทางสุขภาพและการใช้บริการสุขภาพของประชากร รวมทั้งพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในด้านซื้อบริการสุขภาพที่ระดับจังหวัด ...
    • กลไกกำกับสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

      วงศา เลาหศิริวงศ์; Wongsa Laohasiriwong; วิไลวรรณ เทียนประชา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีคิด การให้คุณค่า และวิธีการปฏิบัติ ตลอดจนการก่อตัวของกลไกกำกับสุขภาพภาคประชาชนในกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ ดำเนินการวิจัย 2 ...
    • กลไกธรรมาภิบาลในการควบคุมวิชาชีพเวชกรรมในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ และแอฟริกาใต้ 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-04)
      การศึกษาวิจัยเรื่องกลไกธรรมาภิบาลในการควบคุมวิชาชีพเวชกรรมในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ และแอฟริกาใต้ โดยเน้นเรื่องบทบาทหน้าที่ขององค์กรควบคุมกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมคือ แพทยสภา ...
    • กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ 

      ศรีประภา เพชรมีศรี; Sripharpa Phetmeesri; สุวดี แก้วอินทร์สรวล; รัตนา เลี้ยวสกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      รายงานผลการศึกษา เรื่อง กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ (ภาคใต้) เป็นผลการติดตามการเคลื่อนใหวของภาคประชาสังคมในฐานะที่เป็นทั้งผู้ที่จะได้รับประโยชน์ และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากความพยายามในการปฏิรูประบบสุข ...
    • กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษากลไกสุขภาพภาคกลาง 2546 

      สุวจี กู๊ด; Suvajee Good (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยการศึกษากลไกสุขภาพภาคประชาชน กับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ จากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในเวทีสมัชชาสุขภาพในพื้นที่ระดับจังหวัดและระดับภาค เป็นอันดับหนึ่งที่ทําให้เห็นภาพกระบวนการที่น่าจะเป็นการก่อกําเนิด ...
    • กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพในภาคเหนือ 

      เพ็ญประภา ศิวิโรจน์; Penprapa Siwirod; พิกุล นันทชัยพันธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การวิจัยเรื่องนี้มุ่งทำความเข้าใจถึงวิธีคิด วิธีปฏิบัติ และวิธีให้คุณค่าเกี่ยวกับการกลไกการขับเคลื่อนเรื่องสุขภาพและผลกระทบของกลไกการปฏิรูประบบสุขภาพที่ผ่านมา และที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบันโดยการศึกษาการรับรู้ ...
    • กลไกและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพ 

      ทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิล; จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-09)
      การศึกษาเรื่อง “กลไกและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพ” เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไก กระบวนการร้องเรียน การช่วยเหลือเบื้องต้นประสิทธิภาพ ...
    • กลไกและกระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ : รายงานทบทวนความรู้ 

      ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; Pattapong Kessomboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพให้เป็นเครื่องมือที่มีผลต่อการสร้างสุขภาพ เป็นเรื่องที่สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพให้ความสำคัญสูงเพราะมีหลักฐานและประสบการณ์จากทั่วโลก พบว่ามีผลกระทบต่อสุขภาพทางบวกมากกว่าการลงทุนด้านบริการสุขภาพ ...
    • กลไกและปัจจัยในการจัดการให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลโดยภาคประชาชน 

      พักตร์วิภา สุวรรณพรหม; หทัยกาญจน์ เชาวนพูนผล; ศิริตรี สุทธจิตต์; รัตนาภรณ์ อาวิพันธ์; ภูริดา เวียนทอง; ท้ัชชัย เรือนแปง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      การศึกษานี้ใช้การทบทวนวรรณกรรมตั้งแต่ปี ค.ศ. 2002 - 2012 และการสัมภาษณ์เชิงลึกบุคลากรทางการแพทย์ ผู้นำชุมชน และประชาชนผู้ใช้ยา ในชุมชนที่มีประสบการณ์การสร้างเสริมศักยภาพของประชาชนร่วมกับการสนทนากลุ่ม เพื่อทบทวนรูปแบบ กลไก ...
    • การกระจายอำนาจจากส่วนกลางให้ท้องถิ่นและภูมิภาค ประเมินความก้าวหน้า อุปสรรคและนัยต่อสุขภาพของประชาชน 

      ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; Direk Patamasiriwat (คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2547)
      การกระจายอํานาจและถ่ายโอนภารกิจจากราชการส่วนกลางให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นส่วนหนึ่งของการปรับปรุงโครงสร้างภาครัฐให้เหมาะสมตามแนวทางลดบทบาทของราชการส่วนกลางในขณะเดียวกันต้องการเพิ่มบทบาทให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ ...
    • การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นและการปฏิรูประบบราชการกับทิศทางการปรับปรุงระบบสุขภาพของสังคมไทย 

      ธเนศวร์ เจริญเมือง; Thanes Charoenmuang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      เอกสารประกอบการจัดทําพันธกิจและวิสัยทัศน์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) พ.ศ. 2548-2550 เกี่ยวกับการกระจายอํานาจสู่ท้องถิ่นและการปฏิรูประบบราชการ กับทิศทางการปรับปรุงระบบสุขภาพของสังคมไทย โดยศึกษาใน 3 ประเด็นสำคัญ คือ ...
    • การกระจายแพทย์ทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ทักษพล ธรรมรังสี; Thaksaphon Thamrangsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ปัญหาการความเหลื่อมล้ำของการกระจายแพทย์ทางภูมิศาสตร์ นับว่าเป็นปัญหาเรื้อรังของระบบบริการสุขภาพ ที่พบได้ในทุกพื้นที่ของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่มีความขาดแคลนแพทย์ในภาพรวมอยู่แล้ว โดยปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายแ ...
    • การกำหนดต้นทุนและการจัดสรรในบริบทของวิธีการเหมาจ่ายบริการสุขภาพ 

      สมชาย สุขสิริเสรีกุล; Somchai Suksiriserekul (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุและประเมินวิธีการกำหนดต้นทุนบริการสุขภาพแบบเหมาจ่าย วิธีการจัดสรรงบประมาณ และการกำหนดตัวแปรที่มีผลต่อต้นทุนและการจัดสรรงบประมาณของต่างประเทศและของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ...
    • การขยายผลองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพสู่ศูนย์สาธิตการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อการรับมือกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ระดับเขตสุขภาพ 

      วิมล โรมา; Wimon Roma; ภารุจีร์ เจริญเผ่า; Parujee Charoenphao; สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; กมลวรรณ สุขประเสริฐ; Kamonwan Sukprasert; ฐานิตา คุณารักษ์; Thanita Kunarak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-02)
      โครงการวิจัย เรื่องการขยายผลองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพสู่ศูนย์สาธิตการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อการรับมือกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับเขตสุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและประเมินผลกระบวนการขยายผลที่เหมาะสมในการขยายผลอง ...
    • การขยายมาตรการสนับสนุนและส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมในโรงพยาบาลในประเทศไทย 

      ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์; Pinyo Rattanaumpawan; พรพรรณ กู้มานะชัย; Pornpan Koomanachai; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; วลัยพร วังจินดา; Walaiporn Wangchinda (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-15)
      การติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ในปี ค.ศ. 2015 องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้ Global Antimicrobial Resistance Surveillance System (GLASS) และดำเนินการส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ...
    • การขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น 

      พีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์; Peerasit Kamnuansilpa; ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา; Tatchalerm Sudhipongpracha; ศิริศักดิ์ เหล่าจันขาม; Sirisak Laochankham; กฤชวรรธน์ โล่ห์วัชรินทร์; Grichawat Lowatcharin; ปานปั้น รองหานาม; Panpun Ronghanam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความพร้อมของระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่นที่รับถ่ายโอนภารกิจการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่กรณีศึกษา โดยตัวแบบนั้นต้องครอบคลุม ...
    • การขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น (ข้อเสนอเชิงนโยบาย) 

      พีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์; Peerasit Kamnuansilpa; ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา; Tatchalerm Sudhipongpracha; ศิริศักดิ์ เหล่าจันขาม; Sirisak Laochankham; กฤชวรรธน์ โล่ห์วัชรินทร์; Grichawat Lowatcharin; ปานปั้น รองหานาม; Panpun Ronghanam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) การขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น มีวัตถุประสงค์เพื่อ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [621]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV