เลือกตามชื่อเรื่อง
แสดงรายการ 2547-2566 จาก 5898
-
การอบรมจริยธรรม เรียนรู้ร่วมกัน สร้างพลังสู่สังคม ครั้งที่ 6
(คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2554)ทางมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ประยุกต์ใช้แนวคิดอาสาสมัครเพื่อสังคม จัดเป็นค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการในโครงการอบรมจริยธรรม “เรียนรู้ร่วมกัน สร้างพลังสู่สังคม” ซึ่งเป็นโครงการหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้แก่นัก ... -
การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนานักวิเคราะห์การเงินการคลังของโรงพยาบาล (Hospital Financial Analysts, HFA) ปี 2552
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2552-08)วัตถุประสงค์ (1) เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และทักษะเกี่ยวกับแนวคิดหลักการ วิธีการวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มการเงินการคลังของโรงพยาบาลในประเด็นต่างๆ การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง ภาวะคุกคาม และโอกาสในการพัฒนา เพื่อนำไปสู่กา ... -
การอภิบาลบทบาทการซื้อบริการในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การศึกษานี้เพื่อประเมินการอภิบาลและการจัดการสำหรับซื้อบริการสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพโดยการทบทวนวรรณกรรมและเอกสารที่เกี่ยวข้อง การรับฟังบรรยายสรุปจากเจ้า ... -
การอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย หลังการประกาศใช้ พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550: กรอบแนวคิด พัฒนาการ และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมและการปฏิรูปโครงสร้างระบบสุขภาพในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ได้สร้างความท้าทายใหม่ๆ ในการอภิบาลระบบสุขภาพของประเทศไทย ภายหลังการตั้งสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ในปี พ.ศ.2535 มีการจัดตั้ ... -
การอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย หลังการประกาศใช้ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 : กรอบแนวคิด พัฒนาการและข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)การเกิดขึ้นของพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของประวัติศาสตร์ระบบสุขภาพไทย การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือการกำหนดนิยามใหม่ให้กับคำว่า “สุขภาพ” ที่ขยายอาณาบริเวณของ “ระบบสุขภาพ” ออกไปพ้นจากการแพทย์และ ... -
การอภิบาลระบบแบบเครือข่าย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-10)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ... -
การออกแบบการจ้างงานและสิทธิประโยชน์รูปแบบใหม่ที่ตอบสนองต่อความต้องการในอนาคตเพื่อสร้างแรงจูงใจของกำลังคนสุขภาพภาครัฐ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)งานวิจัยเรื่องการออกแบบการจ้างงานและสิทธิประโยชน์รูปแบบใหม่ที่ตอบสนองต่อความต้องการในอนาคต เพื่อสร้างแรงจูงใจของกำลังคนสุขภาพภาครัฐ เป็นงานวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทางเลือกรูปแบบการจ้างงานและสิทธิประโยชน์ใหม่ๆ ... -
การออกแบบที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เอื้อกับคนพิการและผู้สูงอายุ
(สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ, 2555-08)คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง และนฤมิตศิลป์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ดำเนินการศึกษาวิจัยโครงการสนับสนุนการออกแบบที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เอื้อกับคนพิการและผู้สูงอายุ โดยมีพื้นที่ต้นแบบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ... -
การออกแบบระบบบริการด้านยาและเวชภัณฑ์สำหรับผู้ป่วยมารับยาที่ร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1 ในพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบระบบบริการด้านยาสำหรับโครงการผู้ป่วยรับยาที่ร้านยาใกล้บ้านตามรูปแบบที่ 3 ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในโครงการช่วยลดความแออัดในโรงพยาบาล โดยมุ่งเน้ ... -
การออกแบบระบบบริการสุขภาพในหน่วยบริการปฐมภูมิภายใต้สถานการณ์ Covid-19 : กรณีศึกษาพื้นที่อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)โครงการวิจัยการออกแบบระบบบริการสุขภาพในหน่วยบริการปฐมภูมิภายใต้สถานการณ์ Covid-19 : กรณีศึกษาพื้นที่อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี มีความมุ่งหวังให้บุคลากรเห็นความสำคัญของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิและสามารถปรับวิธีการทำงาน ... -
การออกแบบระบบบริการเภสัชกรรมทางไกลในยุคปกติวิถีใหม่ของโรงพยาบาลและร้านยาในเขตสุขภาพที่ 7
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)การบริการเภสัชกรรมทางไกล (telepharmacy) เป็นอีกหนึ่งระบบบริการที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพของระบบบริการสุขภาพภายใต้สถานการณ์ที่มีโรคระบาดโควิด-19 อีกทั้งยังสามารถสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลด้านสาธารณสุขและเกิดเป็นรูปแบบการบริการท ... -
การออกแบบระบบและกลไกในการขับเคลื่อนเขตสุขภาพที่ 6
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)ในช่วงที่ผ่านมาของการขับเคลื่อนให้เกิดเขตสุขภาพนั้น กระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินการสนับสนุนการพัฒนาเขตสุขภาพอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม การดำเนินการที่ผ่านมามีความไม่คล่องตัวในทางปฏิบัติหลายประการที่ทำให้การดำเนินการตามข้อเ ... -
การออกแบบระบบและการพัฒนาเครื่องมือสำหรับใช้คัดเลือกนวัตกรรมด้านสุขภาพในระยะเริ่มต้น ก่อนลงทุนวิจัยและพัฒนาเพื่อให้มีโอกาสบรรจุเข้าในชุดสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)โครงการออกแบบระบบและการพัฒนาเครื่องมือสำหรับใช้คัดเลือกนวัตกรรมด้านสุขภาพในระยะเริ่มต้นก่อนลงทุนวิจัยและพัฒนาเพื่อให้มีโอกาสบรรจุเข้าในชุดสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพ ดำเนินการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ่านการพัฒนา ... -
การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา
(สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ (สวสส.), 2557-10)งานวิจัยโครงการการออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา (Healthcare Healing Environment Design) มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ทำการสำรวจสภาพปัญหาของการจัดสิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาล (2) ออกแบบเครื่องมือประเมินสิ่งแวดล้ ... -
การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา ปีที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)โครงการวิจัย “การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา (Healthcare Healing Environment Design) ปีที่ 2” ได้เน้นให้โรงพยาบาลที่เข้าโครงการฯ จำนวน 17 แห่ง นำเครื่องมือประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยาไปใช ... -
การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา ปีที่ 3
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)โครงการวิจัยเรื่องการออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสำรวจสภาพของสิ่งแวดล้อมและศึกษารูปแบบการออกแบบโครงสร้าง/ภูมิสถาปัตยกรรมที่ส่งเสริมคุณภาพและความปลอดภัยของผู้รับบริการ ... -
การออกแบบหลักสูตรออนไลน์เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการวินิจฉัยโรคติดเชื้อพิธิโอซิสในหลอดเลือด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)โรคติดเชื้อพิธิโอซิส เกิดจากการติดเชื้อ Pythium Insidiosum ซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคในกลุ่มที่คล้ายเชื้อราแต่ไม่ใช่เชื้อรา จัดอยู่ในกลุ่มใกล้เคียงกับไดอะตอม Pythium spp. ถูกค้นพบเป็นการติดเชื้อในพืชมาก่อน ต่อมามีรายงานการติดเชื้อในสัตว์ ... -
การออกแบบอุปกรณ์เสริมสำหรับเท้าและการผลิตอุปกรณ์ซิลิโคนพิมพ์แบบสามมิติสำหรับรักษาภาวะเท้าแบนและนิ้วหัวแม่เท้าเอียง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)โครงการนี้เป็นการนำเทคโนโลยีการพิมพ์แบบสามมิติมาผลิตอุปกรณ์ซิลิโคนเสริมสำหรับเท้าแบบเฉพาะราย สำหรับผู้ที่มีโครงสร้างเท้าผิดปกติที่พบได้บ่อยทางคลินิก คือ ภาวะเท้าแบนและภาวะนิ้วหัวแม่เท้าเอียง เพื่อใช้รักษาและบรรเทาอาการเจ็บที่เท้า ... -
การออกแบบและพัฒนาข้อเข่าเทียมเชิงพาณิชย์เพื่อคนไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-04)เป้าหมายการศึกษาในครั้งนี้ คือ การได้ต้นแบบข้อเข่าเทียมบนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดและรูปทรงที่เหมาะสมกับกายวิภาคข้อเข่าของคนไทย โดยมีโครงการวิจัยย่อย 2 โครงการ ดังนี้ 1) การออกแบบข้อเข่าเทียมจากข้อมูลกายวิภาคของคนไทยด ... -
การออกแบบและเตรียมชุมชนในการพัฒนาระบบสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตสังคมโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ด้วยมาตรการเพื่อนช่วยเพื่อน และละครประยุกต์ เพื่อสร้างการเรียนรู้และเสริมพลัง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-04)โครงการนี้เป็นการวิจัยพัฒนาต่อเนื่องของการพัฒนาเชิงระบบที่เพิ่มการเข้าถึงการบำบัดฟื้นฟูเยาวชนในโรงเรียนที่ใช้สารเสพติด ซึ่งการวิจัยพัฒนาในระยะแรกชี้ว่าการใช้แนวทางสร้างเสริมสุขภาพและการฟื้นฟูสมรรถนะด้านจิตสังคมที่ใช้โรงเ ...