Now showing items 3606-3625 of 5674

    • บันทึกการเสวนาสัญจร เพื่อกระเทาะความคิดใส่บ่อพักความรู้ นำไปสู่การผ่าตัดวิถีชีวิตชุมชนชนบท 

      คณะทำงานวิชาการสนับสนุนการประสานงานนโยบายระบบบริหารและบริการสาธารณสุข (2538)
      มนุษย์กำลังถูกการพัฒนาแบบตะวันตกดึงห่างออกจากวิถีชีวิตเดิม และห่างออกจากสิ่งแวดล้อมมากขึ้นทุกที บทความพิเศษฉบับนี้เป็นบันทึกเสวนาสัญจรที่นำท่านกลับไปสัมผัสกับวิถีชีวิตชุมชนที่เต็มไปด้วยสติปัญญาอันน่าเคารพ และรับฟังเป็นอย่างยิ่ง
    • บันทึกของนายก้อนดิน 

      สุริยัน สุดศรีวงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-01)
      นายก้อนดินเป็นเด็กหนุ่มที่ใฝ่รู้ สามารถใช้โอกาสเหตุการณ์ที่ผ่านเข้ามาในชีวิตในการเรียนรู้ ในครั้งนี้เขาได้ทราบเกี่ยวกับแนวทางการสำรวจภาวะสุขภาพของประชาชนไทย ซึ่งมีการดำเนินการโดยทีมงานเจ้าหน้าที่สาธารณสุข โดยผ่านเรื่อ ...
    • บันทึกของผู้ป่วยโรคมัยโคแบคทีเรียม เอเวียม 1 ราย โรงพยาบาลหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ 

      สงวนชัย เจนศิริสกุล; Sanguanchai Jenesirisakule (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ผู้ป่วยโรคติดเชื้อมัยโคแบคทีเรียม เอเวียม พบไม่บ่อย และวินิจฉัยโรคยาก มักวินิจฉัยโรคได้โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรม และต้องอาศัยห้องปฏิบัติการสำหรับเพาะเชื้อ เพื่อตรวจความไว และภาวะดื้อยา ซึ่งมีเฉพาะในโรงเรียนแพทย์ ...
    • บันทึกของเด็กชายก้อนดิน 

      สุริยัน สุดศรีวงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-07)
      วรรณกรรมบันทึกของเด็กชายก้อนดิน เป็นการแปรรูปข้อมูลสถานะสุขภาพของคนไทย ที่รวบรวมและแปลความโดยนักวิชาการหลากหลายสาขาจำนวนหนึ่งให้มีรูปแบบการนำเสนอที่สามารถสื่อความเข้าใจกับคนไทยทั่วไป โดยเอื้ออำนวยให้ใช้เวลาสั้นๆ ...
    • บันทึกทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ : แนวคิดวิธีบันทึกและการใช้ประโยชน์ 

      ประคิณ สุจฉายา; Phakin Sutchaya; วิจิตร ศรีสุพรรณ; โรจนี จินตนาวัฒน์; กุลดา พฤติวรรธน์; ศรีมนา นิยมค้า; Wichit Srisuphan; Rodchanee Chintanawat; Kulada Phruek; Srimana Niyomkha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      บันทึกทางการพยาบาลและผดุงครรภ์ เป็นการสื่อสารอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ระหว่างพยาบาลและผดุงครรภ์ และบุคลากรอื่นในทีมสุขภาพเกี่ยวกับอาการ และอาการแสดงของผู้ป่วย ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและผดุงครรภ์ การปฏิบัติกิจกรรมการพย ...
    • บันทึกเด็กชายก้อนดิน 

      สุริยัน สุดศรีวงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธาณสุข, 2545)
    • บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขจะได้อะไร เมื่อออกนอกระบบ ก.พ. 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (2557-09-05)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • บุหรี่-มะเร็งปอด การสูญเสียสุขภาพ-ชีวิต และการสูญเสียเศรษฐกิจ 

      ธีระ ลิ่มศิลา; Teera Limsila (2537)
      แม้ว่าประเทศไทยจะประสบความสำเร็จอย่างสูงในเรื่องการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ แต่ประเทศไทยก็ยังมีผู้สูบบุหรี่กว่า 10 ล้านคน และยังมีผู้สูบบุหรี่หน้าใหม่เพิ่มขึ้นปีละกว่า 5 แสนคน บทความนี้เป็นการทบทวนและวิเคราะห์างวิชาการ ...
    • บุหรี่และสุรา : ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ ระหว่างครัวเรือนไทยที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน 

      วิชัย โชควิวัฒน; สุพล ลิมวัฒนานนท์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550)
      การศึกษาภาระโรคในประเทศไทยเปรียบเทียบระหว่าง พ.ศ. 2542 กับ 2547 พบว่าใน พ.ศ. 2547 ภาระโรคที่เกิดจากการบริโภคแอลกอฮอล์และบุหรี่เพิ่มมากขึ้น และเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับสอง และสาม รองจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย ...
    • บูรณาการระบบข้อมูลสุขภาพ: คานงัดของระบบบริการสุขภาพที่เน้นคุณค่า 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • บูรณาการเบาหวานด้วยกันไปทั้งอำเภอ จากเบาหวาน สู่การขยายผล 

      ศิรดา ภูริวัฒนพงศ์ (โรงพยาบาลมวกเหล็ก จ.สระบุรี, 2554-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง คุณค่า R2R เบาหวาน สู่การขยายผล วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-14.30 น. ณ Jupiter12 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
    • ปฏิญญาเฮลซิงกิของแพทยสมาคมโลก(ค.ศ.2000)หลักการจริยธรรมสำหรับการศึกษาวิจัยทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ 

      วิชัย โชควิวัฒน; สุชาติ จองประเสริฐ (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2551-03)
      ปฏิญญาเฮลซิงกิเป็นหลักเกณฑ์จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่สุดทั่วโลก นับตั้งแต่ประกาศครั้งแรกโดยสมัชชาของแพทยสภาคมโลกที่กรุงเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ เมื่อปี พ.ศ. 2507 ปฏิญญาดังกล่างมีการปรับปรุ ...
    • ปฏิรูป สวรส. ก้าวสู่การวิจัยระบบสุขภาพในทศวรรษที่ 3 

      พินทุสร เหมพิสุทธิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2535 มีสถานะเป็นนิติบุคคล มีภารกิจในการสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพื่อสร้างความรู้ สนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพ การพัฒนานโยบายสุขภาพที่ส ...
    • ปฏิรูปด้านการคลังสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม 

      ภิรมย์ กมลรัตนกุล; คณิศ แสงสุพรรณ; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ...
    • ปฏิรูประบบสุขภาพโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ 

      สุขุม กาญจนพิมาย; Sukhum Karnchanapimai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-08)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ...
    • ปฏิรูประบบสุขภาพโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต) 

      อุดม คชินทร; Udom Kachintorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-08)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ...
    • ปฏิรูประบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย : จากเป้าประสงค์สู่แนวทางการขับเคลื่อน 

      ภิรมย์ กมลรัตนกุล; สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-10)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ...
    • ปฏิรูปแนวคิดคนไทย : สุขภาพไม่ใช่โรงพยาบาล 

      สถาบันส่งเสริมสุขภาพไทย; Thailand Health Promotion (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • ประกันสุขภาพถ้วนหน้า : เราเชื่อและเรามุ่งมั่น 

      Walaiporn Patcharanarumol; Tippawan Witworrasakul; Cattleeya Kongsupapsiri; Churnrurtai Kanchanachitra; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; ทิพวรรณ วิทย์วรสกุล; แคลียา คงสุภาพศิริ; ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      การประชุมนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล พ.ศ. 2555 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 26-28 มกราคม 2555 ณ โรงแรมเซนทารา แกรนด์ กรุงเทพมหานคร ภายใต้หัวข้อ “ก้าวสู่ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า เร่งพัฒนาระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ” หรือ ...
    • ประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับคนสัญชาติไทย หรือทุกคนบนผืนแผ่นดินไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) ประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับคนสัญชาติไทย หรือทุกคนบนผืนแผ่นดินไทย เนื้อหาประกอบด้วย 1) ความครอบคลุมสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ได้แก่ สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ ...