Now showing items 4125-4144 of 5674

    • ภาพที่คิดว่าสุขภาพคนไทยในอนาคตอาจมีทั้งดีขึ้นและแย่ลง 

      สุรชัย สถิตคุณารัตน์; อรพรรณ ศรีสุขวัฒนา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ, 2556-07-08)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ “จัดทำภาพอนาคตระบบสุขภาพของคนไทยในทศวรรษหน้า” วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม 2556 ณ โรงแรมรามา การ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ
    • ภาพที่คิดว่าสุขภาพคนไทยในอนาคตอาจแย่ลง 

      อังคาร วงษ์ดีไทย; อนุศักดิ์ สุภาพร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ, 2556-07-08)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ “จัดทำภาพอนาคตระบบสุขภาพของคนไทยในทศวรรษหน้า” วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม 2556 ณ โรงแรมรามา การ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ
    • ภาพรวมของข้อตกลงสนับสนุนวิจัย (สวรส.) 

      ณัฐิญา ศิลปอนันต์; Nattiya Sillapa-anan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-28)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมก้าวสู่มิติใหม่กับการวิจัยพัฒนาระบบสุขภาพ วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. (ในรูปแบบออนไลน์)
    • ภาพรวมของระบบบริการที่พึงประสงค์ในทัศนะผู้ทรงคุณวุฒิ 

      เกษม วัฒนชัย; Kasem Wattanachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • ภาพลักษณ์ของสถานีอนามัยในสองทศวรรษหน้าและกลยุทธ์ในการพัฒนา 

      อุกฤษฎ์ มิลินทางกูร; อำพล จินดาวัฒนะ; สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; สุทธิสิทธิ์ ไมตรีจิตร์; นาฏวิมล พรหมชนะ (2539)
      ครึ่งทศวรรษแรกของ "โครงสร้างทศวรรษแห่งการพัฒนาสถานีอนามัย" ได้รับการประเมินผลการบรรลุความสำเร็จ และกำหนดภาพลักษณ์ของสถานีอนามัยในสองทศวรรษข้างหน้า พร้อมข้อเสนอแนะเชิงกลยุทธ์สำหรับการพัฒนาสถานีอนามัยไปสู่ภาพลักษณ์นั้น
    • ภาพอนาคตระบบสุขภาพ 

      สุชาต อุดมโสภกิจ; Suchat Udomsopagit; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux; อรพรรณ ศรีสุขวัฒนา; Orapan Srisookwatana (2557-09-04)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • ภาพอนาคตระบบสุขภาพ 

      สุชาต อุดมโสภกิจ; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; อรพรรณ ศรีสุขวัฒนา; ทิพิชา โปษยานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-11)
      ในช่วงเปลี่ยนผ่านสู่ระบบสุขภาพยุคใหม่ เป็นความท้าทายต่อองคาพยพในระบบสุขภาพที่จะต้องปรับตัวให้ทันกับบริบทและสถานการณ์ที่ไม่เหมือนเดิม ประเทศไทยอยู่ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของการเปลี่ยนแปลงที่หลากหลายอันส่งผลต่อการพัฒนาระบบสุ ...
    • ภาพเตือนสติบนซองบุหรี่กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ 

      สุนันทา โอศิริ; Sunantha Osiri; สุริยล คงคาสวัสดิ์; Suriyon Kongkasawad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้เป็นการศึกษาเบื้องต้นเพื่อประเมินผลจากการที่มีภาพเตือนบนซองบุหรี่ต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ประชากรศึกษาเป็นนิสิตชายในมหาวิทยาลัยบูรพา 120 คน อายุ 18-23 ปี คณะผุ้วิจัยเก็บข้อมูลแบบสอบถามในช่วงเดือนกันยายน ...
    • ภาระของโรคมะเร็งท่อน้ำดีจากการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับในประเทศไทย 

      รัตน์สีดา ผลเจริญ; Ratsida Phoncharoen; บรรจบ ศรีภา; Banchob Sripa; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      โรคมะเร็งท่อน้ำดียังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขของไทย สาเหตุหลักของการเกิดมะเร็งชนิดนี้คือ การติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ (Opisthorchis viverrini) การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงภาระโรคมะเร็งท่อน้ำดีจากการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับโดยใ ...
    • ภาระงานของบุคลากรและประสิทธิภาพการใช้เตียงโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลจังหวัด ปี 2543 

      วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปริมาณงานรักษาของบุคลาการ 3 สายงานได้แก่ แพทย์ เภสัชกร และพยาบาลวิชาชีพ งบประมาณ 2543 ของโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลจังหวัดทุกแห่งในประเทศไทยทำการศึกษาระหว่างเดือนมีนาคม – มิถุนายน ...
    • ภาระทางเศรษฐกิจจากการดูแลรักษาผู้ป่วยต่างด้าว: กรณีศึกษาโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา จังหวัดกาญจนบุรี 

      รักษ์พงศ์ เวียงเจริญ; Rakpong Wiangcharoen; ชื่นฤทัย ยี่เขียน; Chuenrutai Yeekian; พรสวรรค์ อัตวินิจตระการ; Pornsawan Attavinijtrakarn; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; Anond Kulthanmanusorn; สมเจตน์ เหล่าลือเกียรติ; Somjate Laoleukiat; ประตาป สิงหศิวานนท์; Pratap Singhasivanon; โมลี วนิชสุวรรณ; Molee Wanichsuwan; โชคชัย ลีโทชวลิต; Chockchai Leethochawalit; พรรณี ปิติสุทธิธรรม; Punnee Pitisuttithum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      จังหวัดกาญจนบุรีเป็นหนึ่งในจังหวัดชายแดนที่มีประชากรต่างด้าวอาศัยอยู่หนาแน่น ทำให้โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนาซึ่งเป็นโรงพยาบาลประจำจังหวัดต้องให้การดูแลรักษาผู้ป่วยต่างด้าวจำนวนมากมาอย่างต่อเนื่อง การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ที่ ...
    • ภาระทางเศรษฐศาสตร์และการพยากรณ์โรคของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบเฉียบพลันและฟังปอดพบเสียงวิ้ด 

      ภาสกร ศรีทิพย์สุโข; Pasakorn Srithipsukho (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      ส่วนใหญ่ของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบหืดและหายใจมีเสียงวี๊ดในการศึกษานี้ จะมีอายุน้อยกว่า 2 ปี และมักพบในเด็กชายมากว่าเด็กหญิง สารก่อภูมิแพ้จากไข่ขาวและนมวัว เป็นสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยในเด็กกลุ่มนี้ จากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ...
    • ภาระทางเศรษฐศาสตร์และการพยากรณ์โรคของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบเฉียบพลันและฟังปอดพบเสียงวิ้ด (ต่อเนื่องปีที่ 2) 

      ภาสกร ศรีทิพย์สุโข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)
      ภาวะหอบเฉียบพลันและหายใจมีเสียงวี๊ดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในเด็ก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการประเมินต้นทุนของการรักษาภาวะดังกล่าวในเด็กก่อนวัยเรียนภายใต้มุมมองของสังคม มุมมองสถานพยาบาลและมุมมองผู้ป่วย การศึกษานี้เก็บข้ ...
    • ภาระทางเศรษฐศาสตร์และการพยากรณ์โรคของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบเฉียบพลันและฟังปอดพบเสียงวี้ด 

      ภาสกร ศรีทิพย์สุโข; อารยา ศรัทธาพุทธ; ศิริกุล มะโนจันทร์; กล่องทิพย์ มัชฌิมดำรง; ศศวรรณ ชินรัตนพิสิทธิ์; วิศรุต การุญบุญญานันท์; จิตลัดดา ดีโรจนวงศ์; สุชาดา ศรีทิพยวรรณ; พรรณทิพา ฉัตรชาตรี; นริศรา สุรทานต์นนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      ภาวะหอบเฉียบพลันและหายใจมีเสียงวี้ดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในเด็ก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการประเมินต้นทุนของการรักษาภาวะดังกล่าวในเด็กก่อนวัยเรียนซึ่งนอนโรงพยาบาล ภายใต้มุมมองของสังคม มุมมองสถานพยาบาล และมุมมองผู้ป่วย ...
    • ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยในอดีตพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายมีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ในระยะเวลา 3 ปี กลุ่มวิจัยจึงมีความประสงค์เพื่อค้นหาสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยงในการติดตามผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นเวลา ...
    • ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย (ต่อเนื่องปีที่ 2) 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10)
      จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยในอดีตพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงที่ขาตีบตัน หรือโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (peripheral artery disease-PAD) มีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ในระยะเวลา 3 ปี กลุ่มวิจัยจึงมีคว ...
    • ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย ต่อเนื่องปีที่ 3 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในอดีตพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงที่ขาตีบตัน หรือโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (peripheral artery disease-PAD) มีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ...
    • ภาระโรค 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การวัดสถานะสุขภาพของประชากรเป็นการบอกถึงสถานะสุขภาพของของประชากร ซึ่งเครื่องชี้วัดส่วนใหญ่ไม่สามารถที่จะแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระหว่าโรคที่ทำให้ตาย กับโรคที่ก่อให้เกิดความพิการหรือการเจ็บป่วยเรื้อรังได้ จึงได้มีความพยายา ...
    • ภาระโรคจากปัจจัยเสี่ยงของประชาชนไทยในปี พ.ศ. 2547 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2551)
      ในการวัดสถานะสุขภาพของประชาชนไทยแบบองค์รวม ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นเครื่องชี้วัดภาระโรค (Burden of Disease) ของคนไทยนั้น คิดมาจากความสูญเสียที่เกิดมาจากการตายก่อนวัยอันควรและความสูญเสียจากการเจ็บป่วยหรือพิการ โดยเรามักจะเข้า ...