Now showing items 5142-5161 of 5674

    • อนาคตระบบบริการของวิชาชีพการพยาบาลในประเทศไทย 

      ขนิษฐา นันทบุตร; Khnitha Nantrabutn; กล้าเผชิญ โชคบำรุง; ปิยะธิดา นาคะเกษียร; Khlaphachoen Chokbumrung; Phiyathida Nakhakasien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      รายงานการสังเคราะห์อนาคตระบบบริการของวิชาชีพการพยาบาลในประเทศไทยนี้ชี้ให้เห็นความเชื่อมโยงกันระหว่าง 1) การเปลี่ยนแปลงของสังคมวัฒนธรรม เทคโนโลยีเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและการเมือง 2) วิถีการดําเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพประชาชน ...
    • อนาคตระบบยาของคนไทยในระบบสุขภาพแห่งชาติในอีก 10 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2546-2555) 

      คทา บัณฑิตานุกูล; Khata Banditanukul; สุนันทา โอศิริ; พัชราภรณ์ ปัญญาวุฒิไกร; ฉัตรวรัญ องคสิงห์; Sunantha Oosiri; Phacharaporn Phanyawutikhain; Chatwarun Ongkasing (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพอนาคตระบบยา โดยการใช้กระบวนการคาดการณ์อนาคต (Foresight) รวมถึงการนำเสนอยุทธศาสตร์เพื่อให้เกิดการพัฒนาและดำเนินการศึกษาวิจัยอย่างต่อเนื่องของระบบยา ที่ได้จากกระบวนการคาดการณ์อนาคต ...
    • อนาคตระบบสุขภาพไทย สุขภาพคนไทยดีขึ้นหรือแย่ลง : สถานการณ์ระบบการเงินการคลัง 

      ถาวร สกุลพาณิชย์; Thaworn Sakunphanit (สำนักงานวิจัยเพื่อพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2557-09-04)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • อนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 1 เรื่องการเจ็บป่วย การใช้บริการสุขภาพ และการใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพของคนไทย 

      จิตปราณี วาศวิท; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; กัญจนา ติษยาธิคม; วลัยพร พัชรนฤมล; นวรัตน์ โอปนพันธ์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      ข้อมูลด้านอนามัยและสวัสดิการที่ทันสมัยเพื่อใช้ในการประเมินผลโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นสิ่งสำคัญ กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ขอความร่วมมือจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) ให้ดำเนินการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ขึ้น ...
    • อนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 2 เรื่อง รายจ่ายด้านของคนไทยก่อนและหลังมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วลัยพร พัชรนฤมล; กุลลักษณ์ เลิศภัทรพงษ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินภาพรวมสัมฤทธิ์ผลของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในด้านภาระรายจ่ายสุขภาพของประชาชนไทยทั้งประเทศ โดยเปรียบเทียบในช่วงก่อนและหลังมีสิทธิประโยชน์นี้และผลที่มีต่อผู้มีหลักประกันสุขภาพถ้ว ...
    • อปท. กับการพัฒนาสุขภาวะชุมชน หนทางออกจากวิกฤติ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-12-17)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการห้องย่อยในการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 2 เรื่อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการพัฒนาสุขภาวะชุมชน : หนทางออกจากวิกฤติ วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม 2552 เวลา 12.30-14.00 น. ณ ...
    • อปท. กับการพัฒนาสุขภาวะชุมชน หนทางออกจากวิกฤติ กรณีศึกษา อบจ.นครราชสีมา 

      สำเริง แหยงกระโทก (องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา, 2552-12-17)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการห้องย่อยในการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 2 เรื่อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการพัฒนาสุขภาวะชุมชน : หนทางออกจากวิกฤติ วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม 2552 เวลา 12.30-14.00 น. ณ ...
    • อปท. กับการพัฒนาสุขภาวะชุมชน หนทางออกจากวิกฤติ กรณีศึกษา อบต.ไร่ส้ม 

      สิริเลิศ สรฉัตร (องค์การบริหารส่วนตำบลไร่ส้ม, 2552-12-17)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการห้องย่อยในการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 2 เรื่อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการพัฒนาสุขภาวะชุมชน : หนทางออกจากวิกฤติ วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม 2552 เวลา 12.30-14.00 น. ณ ...
    • อปท. กับการพัฒนาสุขภาวะชุมชน หนทางออกจากวิกฤติ กรณีศึกษา เทศบาลนครพิษณุโลก 

      สุธี ฮั่นตระกูล (เทศบาลนครพิษณุโลก, 2552-12-17)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการห้องย่อยในการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 2 เรื่อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการพัฒนาสุขภาวะชุมชน : หนทางออกจากวิกฤติ วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม 2552 เวลา 12.30-14.00 น. ณ ...
    • อยู่กับเบาหวานอย่างมีความสุข 

      รุ้งระวี นาวีเจริญ (แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า(ผรส.), 2552)
      เบาหวานเป็นโรคที่พบมากขึ้นเรื่อยๆในประเทศไทย เป็นโรคที่ทำให้มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงและก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่สำคัญหลายอย่างตามมา เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจหรือสมองตีบ โรคไตวาย ตาบอด และแผลที่เท้า โรคเหล่านี้สามารถ ...
    • อยู่ดีดี 

      พลอย กษมา แย้มดี; ยศวดี สนธิไชย (ตาแสง Studio, 2559-01)
      วารสารอยู่ดีดี จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่เรื่องราวของการออกแบบเพื่อคนทุกคน (Universal Design : UD) ซึ่งประกอบไปด้วยเนื้อหาและตัวอย่างงานที่เกิดจากการแชร์ความรู้จากภาคีและเครือข่ายต่างๆ จากเวิร์คช็อฟ สุนทรยสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยน ...
    • อวสานกรุงเทพฯ 2563 

      เสรี ศุภราทิตย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงเมืองหนึ่งที่มีการเติบโตและพัฒนาที่รวดเร็ว และจัดเป็นเมืองใหญ่ลำดับที่ 22 ของโลก เมื่อพิจารณาในแง่ของประชากรกว่า 8 ล้านคน กรุงเทพฯ ตั้งอยู่บนชั้นดินอ่อนลึกกว่า 15 เมตร โดยเป็นที่ราบต่ำลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ...
    • อหิวาตกโรค กับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง 

      สรันยา เฮงพระพรหม; Sarunya Hengpraprom; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-03)
      การแปรสภาพภูมิอากาศของโลกส่วนใหญ่เป็นผลมาจากกิจกรรมของมนุษย์ ผลกระทบทางลบจากการเปลี่ยนแปลงคือภาวะโลกร้อน ซึ่งส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อม ระบบนิเวศ การกระจายของโรคและพาหะของเชื้อโรคหลายชนิด ซึ่งย้อนกลับมาส่งผลต่อมนุษย์เอง ...
    • ออทิสติก-คนพิเศษ ที่ต้องสังเกตและเข้าใจ 

      แก้วตา นพมณีจำรัสเลิศ; Kaewta Nopmaneejumruslers (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      'ออทิสติก' เป็นโรคที่มีความผิดปกติของพัฒนาการและระบบประสาท ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญที่ควรจะต้องได้รับการแก้ไขและดูแลอย่างถูกวิธี ซึ่งในเด็กปฐมวัยถือเป็นช่วงวัยที่สมองกำลังมีการพัฒนา อีกทั้งยังรวมถึงพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์และจิตใจ ...
    • อัตรา สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของการได้รับผลการตรวจ CBC, blood sugar และelectrolyte ล่าช้า และหรือไม่ถูกต้อง ในโรงพยาบาลขอนแก่น 

      ศิริจิตต์ วาสนะวัฒน; Sirijit Wasanawatana; นวลจันทร์ สโมสรสุข; คมเนตร เตียงพิทยากร; ปัทมา เพชรไพรินทร์; วิชัย ใหญ่สูงเนิน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      Rate, causes and factors associated with delayed and or incorrect laboratory report(CBC, blood sugar and electrolyte) at Khon Kaen Hospital Khon Kean hospital is tertiary care hospital, of 638 beds. There are an average ...
    • อัตราการคงอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 

      พิศาล ไม้เรียง; Pisaln Mairieng; อนงค์ศรี งอสอน; Anongsri Ngoson; อภิดา รุณวาทย์; Apida Runvat; บุศยศรี ศรีบุศยกุล; Bussayasri Sribussayakul; ปราณี คำมา; Pranee Kumma (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจอัตราการคงอยู่ของศิษย์เก่าแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภายหลังการชดใช้ทุน ประชากรที่ใช้ศึกษาเป็นศิษย์เก่าที่จบการศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต รุ่นที่ 1-22 การสำรวจรว ...
    • อัตราการจบการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิตจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 

      อนงค์ศรี งอสอน; Anongsri Ngoson (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      การศึกษานี้เป็นการศึกษาอัตราการจบการศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) จากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระหว่างปีการศึกษา 2516-2555 จำนวน 40 รุ่น 5,598 คน จบไปแล้วจำนวน 34 รุ่น 3,966 คน เก็บข้อมูลจากหน่วยทะเบียนนักศึกษา ...
    • อัตราการพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวานและการศึกษาความสัมพันธ์เกี่ยวกับปัจจัยการนอนหลับและระดับกรดยูริกในเลือดกับระดับ HbA1c ในเลือดในผู้ที่มีภาวะ prediabetes ปีที่ 2 

      ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; ดำรงรัตน์ เลิศรัตนานนท์; Dumrongrat Lertrattananon; แสงศุลี ธรรมไกรสร; Sangsulee Thamakaison; สิริมนต์ ริ้วตระกูล; Sirimon Reutrakul; อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร; Ammarin Thakkinstian (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-05)
      โรคเบาหวานเป็นโรคที่พบบ่อยในประชากรไทยและมีแนวโน้มที่จะพบสูงขึ้นเรื่อยๆ ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด, โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย, โรคเส้นเลือดในสมองตีบและโรคมะเร็ง ดังนั้นการป้องกันไม่ใ ...
    • อัตราการพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวานและการศึกษาความสัมพันธ์เกี่ยวกับปัจจัยการนอนหลับและระดับกรดยูริคในเลือดกับระดับ HbA1c ในเลือดในผู้ที่มีภาวะ pre-diabetes 

      ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; ดำรงรัตน์ เลิศรัตนานนท์; Dumrongrat Lertrattananon; อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร; Ammarin Thakkinstian (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      โรคเบาหวานเป็นโรคที่พบบ่อยในประชากรไทยและมีแนวโน้มที่จะพบสูงขึ้นเรื่อยๆ ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด, โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย, โรคเส้นเลือดในสมองตีบ, และโรคมะเร็ง ดังนั้นการป้องกันไม ...
    • อัตราการใช้เข็มขัดนิรภัยในผู้ขับขี่รถยนต์ใน 4 จังหวัด, ประเทศไทย พ.ศ.2539 

      วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekplakorn; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; อมรรัตน์ โพธิพรรค; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์; กุลยา นาคสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      โครงการศึกษาอัตราการใช้เข็มขัดนิรภัยในผู้ขับขี่รถยนต์ใน 4 จังหวัด, ประเทศไทย พ.ศ.2539การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการคาดเข็มขัดนิรภัยในคนขับรถยนต์ และผู้โดยสารด้านหน้าของรถยนต์ประเภทต่าง ๆ ใน 4 จังหวัด คือ ...