Now showing items 1-7 of 7

    • Equity in health and health care in Thailand 

      Mongkol Na Songkhla; Somchai Suksiriserekul; Somsak Chunharas; Suwit Wibulpolprasert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2002)
    • การค้นหาแนวคิดเรื่องสิทธิและความเป็นธรรมในสุขภาพจากมุมมองทางสังคมและวัฒนธรรมเพื่อการปฏิรูปการดูแลสุขภาพในประเทศไทย 

      สุวจี จันทร์ถนอม-กู๊ด; Suvajee Chanthanom-Good (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การค้นหาแนวคิดเรื่องสิทธิและความเป็นธรรมในสุขภาพจากมุมมองทางสังคมและวัฒนธรรมเพื่อการปฏิรูปการดูแลสุขภาพในประเทศไทย การค้นหาแนวคิดเกี่ยวกับสิทธิและความเป็นธรรมทางสุขภาพ จากมุมมองของสังคมและ วัฒนธรรมไทย เป็นงานวิจัยที่พยาย ...
    • ความเป็นธรรมของการใช้บริการสาธารณสุขในประเทศไทย 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; เรนเบอร์ก, คลาส; Rehnberg, Class (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อตรวจสอบว่า บริการสาธารณสุขของประเทศไทยกระจายตามความจำเป็นมากกว่าที่จะกระจายตามความสามารถในการจ่ายเงิน วัตถุประสงค์ของการ ศึกษาครั้งนี้มี 2 ประการ ได้แก่ 1. เพื่อวัดความเท่าเทียมกันขอ ...
    • ความเป็นธรรมด้านสุขภาพในผู้สูงอายุไทยภายใต้สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ 

      เมธิณี อินทรเทศ; Methinee Intarates; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ธีรพล ทิพย์พยอม; Teerapon Dhippayom; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ความเป็นธรรมทางสุขภาพ คือ การปราศจากช่องว่างเชิงระบบในการจัดสรรทรัพยากร การเข้าถึงและการใช้บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุมีโอกาสเป็นโรคเรื้อรังประเภทโรคไม่ติดต่อ (non-communicable diseases: NCDs) หลายโรคร่วมกันได้สูง ...
    • ความเสมอภาคในมุมมองของผู้ชี้นำทางสังคม : กรณีพระนักวิชาการทางพุทธศาสนาในสังคมไทย 

      อำนวย พิรุณสาร; Aamnuay Pirunsan (สถาบันวิจัยระบบสาธาณสุข, 2549)
      จากรายงานผลการวิจัยเรื่อง “ความเสมอภาค ในมุมมองของผู้ชี้นําทางสังคม : กรณีศึกษานักบวช (พระ) นักวิชาการทางพุทธศาสนาในสังคมไทย” พบว่า หลักคําสอน หลักปฏิบัติของพุทธศาสนา แม้จะเป็นหลักคําสอน และหลักปฏิบัติเพื่อมุ่งเน้นจุดมุ่ ...
    • ปิดช่องว่างด้วยระบบสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      บทความในวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2564 ให้ความสำคัญกับการลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย โดยให้ความสนใจกับสุขภาพเด็กตั้งแต่เริ่มต้นด้วยการให้ทารกได้กินนมแม่ นโยบายกินนมแม่อย่างเดียวจนอายุหกเดือ ...
    • มิติเวลาเพื่อความเป็นธรรม ข้อสังเกตจากโควิด 19 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ปรากฏการณ์ที่โรคโควิด 19 สามารถเป็นได้กันทุกคนทั่วโลกเพราะไม่มีใครมีภูมิคุ้มกันมาก่อน ใครสัมผัสก่อน คนนั้นเป็นก่อน จนกระทั่งเป็นกันเกือบทุกคน โรคจึงสงบได้ มิติทางเวลา เช่น ใครติดโรคก่อนหรือเป็นทีหลัง ก็อาจทำให้ผลลัพธ์การ ...