Now showing items 1-20 of 37

    • กระบวนการออกจากระบบราชการขององค์การมหาชน: กรณีศึกษาโรงพยาบาลบ้านแพ้ว 

      จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thammatacharee; แพร จิตตินันทน์; มยุรี ธนะทิพานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การปรับเปลี่ยนโรงพยาบาลบ้านแพ้วให้เป็นองค์การมหาชน เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่มีพัฒนาการอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่การมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารโรงพยาบาลในอดีต จนมาถึงการปรับเปลี่ยนองค์กร การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ...
    • การขยายมาตรการสนับสนุนและส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมในโรงพยาบาลในประเทศไทย 

      ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์; Pinyo Rattanaumpawan; พรพรรณ กู้มานะชัย; Pornpan Koomanachai; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; วลัยพร วังจินดา; Walaiporn Wangchinda (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-15)
      การติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ในปี ค.ศ. 2015 องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้ Global Antimicrobial Resistance Surveillance System (GLASS) และดำเนินการส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ...
    • การจัดทำระบบฐานข้อมูลและทดลองใช้เครื่องมือมาตรฐาน รายงานต้นทุน (Standard Cost Report) ของสถานพยาบาลในพื้นที่นำร่อง 

      ไอลดา สุขนาค; I-lada Sooknark; ครรชิต สุขนาค; Kanchit Sooknark (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      โครงการนี้ดำเนินการตามข้อเสนอคณะทำงานขับเคลื่อนความเพียงพอและความยั่งยืนของงบประมาณ เป็นการปรับปรุงการจัดทำบัญชีต้นทุนสถานพยาบาล เป็นมาตรการ Prerequisite ระยะสั้นของคณะทำงานขับเคลื่อนความเพียงพอและความยั่งยืนของงบประมาณภ ...
    • การบริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลรัฐ : การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณคลินิกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; เรณู ศรีสมิต; สุภัค ปิติภากร; กมล วีระประดิษฐ์; บุญรัตน์ วราชิต (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การบริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลรัฐ : การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณคลินิกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การวิจัยและพัฒนา เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) ตั้งบนสมมติฐานว่า การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณทางคลินิก ...
    • การประเมินต้นทุนของโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล 

      ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; วิน เตชะเคหะกิจ; Win Techakehakij; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08-31)
      ปัญหาความแออัดในโรงพยาบาลส่งผลต่อคุณภาพและความพึงพอใจของผู้รับบริการ ร้านขายยาเป็นหนึ่งในสถานบริการสาธารณสุขที่มีบทบาทในการดูแลสุขภาพที่กระจายและคลอบคลุมพื้นที่มากกว่าสถานบริการหน่วยงานอื่นๆ ของรัฐ ปัจจุบันการประกอบวิชาช ...
    • การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) โครงการนำร่องผู้ป่วยรับยาที่ร้านยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ 

      กรแก้ว จันทภาษา; Kornkaew Chantapasa; กฤช โชติการณ์; Krit Chotikan; อรนิฎา ธารเจริญ; Ornnida Tharncharoen; รัตติยา แดนดงยิ่ง; Rattiya Dandongying; ชนานันทน์ ไชยคำนวน; Chananan Chaikumnuan; มันตา มองเพชร; Manta Mongphet (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01)
      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการดำเนินงานโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านยา จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ...
    • การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) โครงการนำร่องผู้ป่วยรับยาที่ร้านยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลจังหวัดขอนแก่น 

      นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; วรรณี ชัยเฉลิมพงษ์; Wannee Chaichalermpong; อรนุช ทองจันดี; Oranuch Thongjundee; สุกัณฑา หมวดทอง; Sukunta Muadthong; กิตติยา ปิยะศิลป์; Kittiya Piyasin; นิสรา ศรีสุระ; Nissara Srisura (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) เป็นการประเมินที่เน้นการเรียนรู้การปรับตัวและสอดคล้องกับการนำไปใช้ เพื่อให้สามารถใช้ผลการประเมินเป็นแนวทางในการพัฒนาและการปรับตัวได้ทันที เป็นแนวทางที่ได้นำมาใช้มากขึ้นในก ...
    • การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) โครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลร้อยเอ็ด 

      พยอม สุขเอนกนันท์ โอล์สัน; Phayom Sookaneknun Olson; พีรยา ศรีผ่อง; Peeraya Sriphong; จันทร์ทิพย์ กาญจนศิลป์; Juntip Kanjanasilp; สายทิพย์ สุทธิรักษา; Saithip Suttiruksa; ธีระพงษ์ ศรีศิลป์; Theerapong Seesin; เปมรินทร์ โพธิสาราช; Pemmarin Potisarach; เพียงขวัญ ศรีมงคล; Piangkwan Srimongkhol; ปะการัง ศรีวะสุทธิ์; Pakarung Sriwasut; นันทนิจ มีสวัสดิ์; Nanthanich Meesawat; ธีระวุฒิ มีชำนาญ; Theerawut Meechumnan; ระพิตราภรณ์ พิพัฒนมงคล; Rapitraporn Pipattanamongkon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01-12)
      การประเมินผลเชิงพัฒนา (developmental evaluation) เป็นวิธีการประเมินที่เน้นการมีส่วนร่วมของผู้วิจัยและผู้ดำเนินโครงการเพื่อส่งเสริมพัฒนาการดำเนินงานให้สามารถไปถึงเป้าหมายได้ โดยวัตถุประสงค์ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้คือ ...
    • การประเมินผลเชิงพัฒนาของโรงพยาบาลมหาสารคาม ภายใต้การประเมินผลโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล ระยะที่ 2 

      สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; จุฬารัตน์ ฮาดวิเศษ; Jularat Hadwiset; กาญจนาภรณ์ ตาราไต; Kanjanaporn Taratai; เพียงขวัญ ศรีมงคล; Piangkwan Srimongkhol; ร่มตะวัน กาลพัฒน์; Romtawan Kalapat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      ในปี 2562 รัฐบาลมีนโยบายโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินโครงการฯ ในจังหวัดมหาสารคาม วิธีการวิจัย: วิธีวิจัยแบบผสมผสาน ศึกษารูปแบบการจัดบ ...
    • การประเมินโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล ระยะที่ 2 

      รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; อารยา ญาณพิบูลย์; Araya Yanpiboon; กุนที พลรักดี; Kunnatee Ponragdee; อรรถวิทย์ ยางธิสาร; Atthawit Yangtisan; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; อกนิฏฐา พูนชัย; Akanittha Poonchai; สุพัฒศิริ อึ้งมณีภรณ์; Supatsiri Uengmaneeporn; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-11)
      ความแออัดของโรงพยาบาลรัฐบาลขนาดใหญ่ที่ทำให้ผู้ป่วยรอรับบริการนานเป็นปัญหาเรื้อรังในระบบสุขภาพไทย ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพการให้บริการและความพึงพอใจของผู้ป่วย ในปี พ.ศ. 2560 กระทรวงสาธารณสุขประกาศนโยบายลดความแออัดในโรงพยาบาลใหญ่โดยใช้ ...
    • การพัฒนาข้อเสนอตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับสถานพยาบาลและร้านยา 

      สุนทรี วัชรดำรงกุล; Suntaree Watcharadamrongkun; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; กิติยศ ยศสมบัติ; Kitiyot Yotsombut; ตุลาการ นาคพันธ์; Tulakarn Nakpun; บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข; Bunnasorn Techajumlernsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลถูกกำหนดเป็นยุทธศาสตร์หนึ่งในนโยบายแห่งชาติด้านยาตั้งแต่นโยบายแห่งชาติด้านยาฉบับแรก ในปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้การใช้ยาอย่างสมเหตุผลและการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ...
    • การพัฒนาข้อเสนอแนวทางการบริหารจัดการของกองทุนประกันสุขภาพในการจัดสรรงบประมาณให้กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ที่ถ่ายโอนไปองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      ปรุฬห์ รุจนธำรงค์; Parun Rutjanathamrong; นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; วิน เตชะเคหะกิจ; Win Techakehakij; นภัทร บุญเทียม; Napat Boontiam; พรทิพย์ แก้วสิงห์; Pornthip Kaewsing; อำพล บุญเพียร; Aumpol Bunpean; ธีระศักดิ์ วงศ์ใหญ่; Dherasak Wongyai; ญาณันธร กราบทิพย์; Yananthorn Krabthip; หรรษา ชื่นชูผล; Hunsa Chuencupol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      แผนการกระจายอำนาจและแผนปฏิบัติองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) กำหนดให้สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขถ่ายโอนภารกิจด้านการให้บริการปฐมภูมิที่อยู่กับสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี (สอน.) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ...
    • การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนของประเทศไทย 

      อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; เพชรลดา บริหาร; Phetlada Borriharn; นิภาพร เอื้อวัณณะโชติมา; Nipaporn Urwannachotima; วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนของประเทศไทย โดยมีรูปแบบการศึกษา 4 ขั้นตอน ดังนี้ (1) การทบทวนวรรณกรรมจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (Document ...
    • การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อรองรับตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์; Isareethaika Jayasvasti; ไตรเทพ ฟองทอง; Traithep Fongthong; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; ทอง บุญยศ; Thong Boonyot; ประเสริฐ อาปัจชิง; Prasert Apadsing (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อรองรับตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบโครงสร้างฐานข้อมูลเพื่อใช้สำหรับตอบตัวชี้วัดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาสมเหตุผลในทุกระดับ มีการดำเนินการ 3 ส่วน ได้แก่ 1) ...
    • การวิเคราะห์สถานการณ์กำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล 

      สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; ลือรัตน์ อนุรัตน์พานิช; Luerat Anuratpanich; วีรวัฒน์ มโนสุทธิ; Weerawat Manosuthi; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; วิศัลย์ มูลศาสตร์; Visal Moolasart; วราภรณ์ เทียนทอง; Varaporn Thienthong; ฐิติพงษ์ ยิ่งยง; Thitipong Yingyong; วันทนา ปวีณกิตติพร; Wantana Paveenkittiporn; พิทักษ์ สันตนิรันดร์; Pitak Santanirand; สุกัญญา นำสวัสดิ์; Sukanya Numsawad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนสถานการณ์กำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพทั้งในและต่างประเทศ ศึกษาอุปสงค์และอุปทานของกำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ และคาดการณ์กำลังคนการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ...
    • การศึกษาระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์โควิด-19: กรณีศึกษาโรงพยาบาลบุษราคัม 

      อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์; Apiradee Nantsupawat; อรอนงค์ วิชัยคำ; Orn-Anong Wichaikhum; กุลวดี อภิชาติบุตร; Kulwadee Abhicharttibutra; ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์; Thitinut Akkadechanunt; คัทลียา ศิริภัทรากูร แสนหลวง; Cattaliya Siripattarakul Sanluang; เกศราภรณ์ อุดกันทา; Kedsaraporn Udkunta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05-06)
      โรงพยาบาลบุษราคัมเป็นโรงพยาบาลสนามขนาดใหญ่เฉพาะด้านในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ชั่วคราวที่มีความทันสมัยในการดูแลผู้ป่วยครบวงจร ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต ตามมาตรฐานการรักษา รวมทั้งระบบการส่งต่อ อย่างไรก็ตามการศึกษาระบบบริหาร ...
    • การศึกษารายงานทางการเงินเพื่อแสดงประสิทธิภาพของโรงพยาบาล 

      กนกพร สุรณัฐกุล; Khanokporn Suranatkul; ศิรัตน์ สนชัย; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Sirirat Sonchi; Supasit Pannarunothai (มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)
      รายงานทางการเงินเป็นที่ยอมรับว่าเป็นข้อมูลที่มีความสำคัญต่อผู้ใช้เป็นอย่างมาก แต่ปัจจุบันรายงานทางการเงินมีความแตกต่างกันค่อนข้างมาก และการเปิดเผยข้อมูลก็ไม่เพียงพอ ซึ่งยากต่อการประเมินประสิทธิภาพของฝ่ายบริหาร ผลจากการศึ ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพระดับตติยภูมิ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อรองรับการระบาดขั้นวิกฤติของโควิด-19 

      ศิราณี อิ่มน้ำขาว; Siranee Imnamkhao; ภรรวษา จันทศิลป์; Bhanwasa Jantasin; ชัญญาวีร์ ไชยวงศ์; Chanyawee Chaiwong; ทรงสุดา หมื่นไธสง; Songsuda Muenthaisong; จงลักษณ์ ทวีแก้ว; Chonhlak Taveekaew; ณัฐวุฒิ สุริยะ; Natthawut Suriya; วรนาถ พรหมศวร; Woranart Promsuan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพระดับตติยภูมิ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อรองรับการระบาดขั้นวิกฤติของโควิด-19 ใช้รูปแบบการวิจัยผสมผสานวิธี โดยใช้กรอบ Health Care ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอและออกแบบเชิงนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา; Tatchalerm Sudhipongpracha; วิทยา โชคเศรษฐกิจ; Wittaya Choksettakij; ภัควัฒน์ ภูริพงศ์ธนวัต; Pakawat Phuripongthanawat; อุกฤษณ์ กฤตยโสภณ; Ukkrit Kittayasophon; ณฐนภ ศรัทธาธรรม; Nathanop Satthatham; เยาววัลยา อ่อนโพธิ์ทอง; Yaowawanya Onphothong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      แม้ประเทศไทยจะประกาศใช้พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาเป็นระยะเวลา 22 ปีแล้ว แต่รัฐบาลก็ยังประสบปัญหาความล่าช้าในการถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ...
    • การออกแบบระบบบริการด้านยาและเวชภัณฑ์สำหรับผู้ป่วยมารับยาที่ร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1 ในพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 

      สิริรัตน์ สุวัชรชัยติวงศ์; Sirirat Suwatcharachaitiwong; นิกร ศิริวงศ์ไพศาล; Nikorn Sirivongpaisal; ปราณภา หังสพฤกษ์; Prannapa Hungsaphruek (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)
      โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบระบบบริการด้านยาสำหรับโครงการผู้ป่วยรับยาที่ร้านยาใกล้บ้านตามรูปแบบที่ 3 ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในโครงการช่วยลดความแออัดในโรงพยาบาล โดยมุ่งเน้ ...