Now showing items 1-6 of 6

    • การประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของบริการตรวจเพทซีทีในประเทศไทย 

      วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ณัฐกานต์ บุตราช; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; จักรมีเดช เศรษฐนันท์; Chakmeedaj Sethanandha; ชนิสา โชติพานิช; Chanisa Chotipanich; เจษฎาพร พร้อมเที่ยงตรง; Chetsadaporn Promteangtong; อัญชิสา คุณาวุฒิ; Anchisa Kunawudhi; ดริส ธีระกุลพิศุทธิ์; Daris Theerakulpisut; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอโครงการประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของบริการตรวจเพทซีทีในประเทศไทย ซึ่งผ่านการมีส่วนร่วมจากหลายฝ่าย ทบทวนและอ้างอิงหลักฐานทางวิชาการ โดยมีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดยผู้ท ...
    • การพัฒนาระบบในการจัดเก็บค่ารักษาพยาบาลตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลจักราช จังหวัดนครราชสีมา 

      โชคชัย มานะธุระ; Chokchai Manatura; โรงพยาบาลจักราช อำเภอจักราช จังหวัดนครราชสีมา; Jakraj Hospital (โรงพยาบาลจักราช, 2544)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการปฏิบัติงานของโรงพยาบาลจักราช ให้สามารถจัดเก็บค่ารักษาพยาบาลตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ได้อย่างเหมาะสมและเป็นธรรม และพัฒนาระบบการบริหารจัดการของโรงพยาบาล ให้สามารถจั ...
    • การรับรู้และความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขตบริการสุขภาพที่ 10 

      นิชนันท์ สุวรรณกูฏ; Nitchanun Suwannakoot; สุวภัทร นักรู้กำพลพัฒน์; Suvapat Nakrukamphonphatn; เรืองศิลป์ เถื่อนนาดี; Ruengsin Thuennade (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขตบริการสุขภาพที่ 10 สุ่มตัวอย่างอย่างง่าย รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ...
    • การศึกษาผลการรักษาทางคลินิก คุณภาพชีวิตและความคุ้มค่าคุ้มทุนของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเพื่อเปิดทางระบายน้ำจากช่องหน้าลูกตาไปใต้เยื่อบุตา (Trabeculectomy) เทียบกับการใช้ยาลดความดันตา 

      ปริญญ์ โรจนพงศ์พันธุ์; Prin Rojanapongpun; วิศนี ตันติเสวี; Visanee Tantisevi; อนิตา มนัสสากร; Anita Manassakorn; สุณี จันทร์แสงเพ็ชร์; Sunee Chansangpetch; อังคณา เมธีไตรรัตน์; Ankana Metheetrairut; งามแข เรืองวรเวทย์; Ngamkae Ruangvaravate; ดารินทร์ สากิยลักษณ์; Darin Sakiyalak; สกาวรัตน์ เพ็ชรยิ้ม; Sakaorat Petchyim; นริศ กิจณรงค์; Naris Kitnarong; วสุ ศุภกรธนสาร; Wasu Supakorntanasan; ญาณิน สุวรรณ; Yanin Suwan; ธวัช ตันติสารศาสน์; Thawat Tantisarasart; บุญชัย หวังศุภดิลก; Boonchai Wangsupadilok; วีรวัฒน์ คิดดี; Weerawat Kiddee; วัลลภ เอี่ยมสมบุญ; Wallop Iamsomboon; อิศราพร ตรีสิทธิ์; Isaraporn Treesit; พรรณรพี ฟูนฤนารถ; Panrapee Funarunart; บุญส่ง วณิชเวชารุ่งเรือง; Boonsong Wanichwecharungruang; พงษ์ศักดิ์ ปัจฉิมกุล; Pongsak Pachimkul; เกศรินทร์ เกียรติเสวี; Katesarin Kiatsevi; มัญชิมา มะกรวัฒนะ; Manchima Makornwattana; อนุวัชร์ พฤทธิพงศ์สิทธิ์; Anuwat Prutthipongsit; ณฐมน ศรีสำราญ; Nuttamon Srisamran; ทิพย์นภา พัฒนธำรงเกษม; Tipnapa Patthanathumrongkasem; เกษรา พัฒนพิฑูรย์; Kessara Pathanapitoon; ดำรงค์ วิวัฒน์วงศ์วนา; Damrong Wiwatwongwana; ลินดา หรรษภิญโญ; Linda Hansapinyo; ธิดารัตน์ ลีอังกูรเสถียร; Thidarat Leeungurasatein; สมเกียรติ อัศวภูรีกรณ์; Somkiat Asawaphureekorn; นิพนธ์ สายวัฒน์; Niphon Sayawat; ภาวสุทธิ์ สุภาสัย; Pawasoot Supasai; สุมาลี บุญยะลีพรรณ; Sumalee Boonyaleephan; หญิง สุพัฒนวงศ์; Ying Supattanawong; ธเนศ จิรอดิศัย; Tanate Chira-adisai; สุภัสสรา มโนวชิรสรรค์; Supassara Manovachirasan; อรอร ธงอินเนตร; Oraorn Thonginnetra; ปิติพงศ์ สุรเมธากุล; Pitipong Suramethakul; กุลวรรณ โรจนเนืองนิตย์; Kulawan Rojananuangnit; สันต์ เมธาศิริ; Santa Methasiri; นิศา โสธรวิทย์; Nisa Sothornwit; บัณฑิต ลิมป์รัชตามร; Bundit Limratchatamorn; วิฑูรย์ เรืองสุขศรีวงศ์; Vithoon Ruangsuksriwong; กัญญรัตน์ อุปนิสากร; Kanyarat U-panisakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-01)
      วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความดันตาที่ลดลงหลังการผ่าตัด trabeculectomy เทียบกับการใช้ยาหยอดลดความดันตา ที่ระยะเวลา 1 ปีในผู้ป่วยต้อหินมุมเปิด ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น รวมถึงการประเมินคุณภาพชีวิตและความคุ้มค่าคุ้มทุนของการรั ...
    • การเปรียบเทียบการบริหารจัดการและสิทธิประโยชน์ทางการแพทย์ระหว่างระบบประกันสังคมกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2563 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; ขนิษฐา ภูสีมุงคุณ; Khanisthar Phooseemungkun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)
      แม้ว่าประเทศไทยจะมีระบบหลักประกันสุขภาพครอบคลุมคนไทยทุกคนตั้งแต่ พ.ศ. 2545 แต่ปัจจุบันยังมีระบบหลักประกันสุขภาพสำคัญ 3 ระบบใหญ่ ที่ยังมีความเหลื่อมล้ำเพราะมีความเป็นมา การบริหารจัดการ อัตราและวิธีการจ่ายเงินให้สถานพยาบาล ...
    • ค่าบริการวิชาชีพที่ให้บริการแก่ผู้ป่วยฉุกเฉินของสถานพยาบาลเอกชนภายใต้โครงการพัฒนาข้อเสนอ UCEP ด้านการเงินการคลัง 

      ภาสกร สวนเรือง; Passakorn Suanrueang; อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Utoomporn Wongsin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      ค่าบริการวิชาชีพ (professional fee) เป็นหนึ่งในกลุ่มรายการที่กำหนดให้มีการเบิกจ่ายให้กับสถานพยาบาลที่ให้บริการผู้ป่วยฉุกเฉิน ซึ่งที่ผ่านมาพบว่ามีมูลค่าเรียกเก็บรวมสูงกว่า 88 ล้านบาท สูงเป็นอันดับหนึ่งของมูลค่าเรียกเก็บใน ...