ยินดีต้อนรับ
คลังข้อมูลและความรู้ระบบสุขภาพ (Knowledge Bank) คือ เว็บไซต์ที่รวบรวมองค์ความรู้ด้านระบบสุขภาพ ประกอบด้วย งานวิจัย บทความวิชาการ เอกสารเผยแพร่ และอื่นๆ ซึ่งเป็นผลงานที่ได้รับการสนับสนุนโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)
สมัครสมาชิกก่อนดาวน์โหลด Full Text โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
ติดต่อสอบถาม 0 2027 9701 ต่อ 9038 หรือ email: library@hsri.or.th
Download คู่มือการใช้งานได้ที่นี่
รายการใหม่
-
การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อประสิทธิภาพกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหลังการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-07)การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่หลังการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ... -
จริยธรรมและการอภิบาลปัญญาประดิษฐ์เพื่อสุขภาพ คำแนะนำขององค์การอนามัยโลก
(สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)เอกสารคำแนะนำฉบับนี้ ร่วมกันจัดทำโดยหน่วยจริยธรรมและการอภิบาลสุขภาพขององค์การอนามัยโลกในแผนกวิจัยสุขภาพ และแผนกสุขภาพและนวัตกรรมดิจิทัล โดยมีพื้นฐานจากความเห็นร่วมกันของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญขององค์การอนามัยโลกด้านจริยธรรม ... -
การศึกษาประสิทธิภาพของการเสริมธาตุเหล็กทุกวันและสัปดาห์ละครั้งต่อความชุกภาวะโลหิตจางในเด็กทารกไทยอายุ 6-12 เดือน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-08)บทนำ ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในกลุ่มเด็กปฐมวัยเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ยังคงพบในประเทศไทย อย่างไรก็ตามการปรับเปลี่ยนมาตรการการเสริมธาตุเหล็กในเด็กทารกจากการเสริมแบบสัปดาห์ละครั้งที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเป็นการเสริมวันละครั ... -
โรคหายาก โรควินิจฉัยไม่ได้ ความพิการและโรคพันธุกรรม: การพัฒนาระบบการวินิจฉัยและการจัดการงานวิจัย (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)ผู้ป่วยโรคหายาก โรควินิจฉัยไม่ได้ พิการและโรคพันธุกรรม ที่มีกว่าร้อยละ 5 ของประชากร ผู้ป่วยแต่ละคน ต้องการทรัพยากรจำนวนมากในการดูแลรักษา ส่งผลกระทบทางสุขภาพทั้งกายและใจ เศรษฐกิจและสังคมอย่างมาก ทั้งในระดับปัจเจก ครอบครัว ... -
ประสิทธิผลการใช้นวัตกรรมส่งเสริมสุขอนามัยและการดูแลผู้ป่วยจิตเวชชาย : การพัฒนาต่อยอดของโถปัสสาวะชายเคลื่อนที่แบบจำกัดกลิ่น (ระยะที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)ในประเทศไทย มีรายงานการศึกษาความชุกของกลุ่มผู้ป่วยโรคจิตที่มีอาการดื่มน้ำมากผิดปกติจากสถาบันหรือโรงพยาบาลด้านจิตเวชหลายแห่งพบความชุกร้อยละ 6–17 ของผู้ป่วยโรคจิตเรื้อรัง และประมาณ 1 ใน 4 ถึงครึ่งหนึ่งจะมีอาการของภาวะน้ำเป็นพิษ ...