คลังข้อมูลและความรู้ระบบสุขภาพ (Knowledge Bank) คือ เว็บไซต์ที่รวบรวมองค์ความรู้ด้านระบบสุขภาพ ประกอบด้วย งานวิจัย บทความวิชาการ เอกสารเผยแพร่ และอื่นๆ ซึ่งเป็นผลงานที่ได้รับการสนับสนุนโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)

สมัครสมาชิกก่อนดาวน์โหลด Full Text โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย

ติดต่อสอบถาม 0 2027 9701 ต่อ 9038 หรือ email: library@hsri.or.th

Download คู่มือการใช้งานได้ที่นี่

 

  • การศึกษาแบคทีเรียและโปรตีโอมน้ำลายที่จำเพาะกับโรคปริทันต์ในผู้ป่วยที่เป็นโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกันหายาก (ปี พ.ศ. 2566) 

    ฑัณฑริรา พรทวีทัศน์; Thantrira Porntaveetus; นรินทร์ อินทรักษ์; Narin Intarak; ธนากร ธีรภานนท์; Thanakorn Theerapanon; เสริมพร ทวีทรัพย์พิทักษ์; Sermporn Thaweesapphithak; ทิตยา ไชยบุญญารักษ์; Thitaya Chaiboonyarak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)
    ปัญหาทางปากมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อผู้ที่เป็นโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกันหายาก (Inborn Error of Immunity, IEI) ซึ่งทำให้สุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเสื่อมลง โครงการนี้มุ่งเน้นการสำรวจลักษณะในช่องปากและฟัน ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ...
  • การศึกษาผลของนโยบายการแพทย์ทางไกลภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2565-2567 

    วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ชนิดา เอกอัครรุ่งโรจน์; Chanida Ekakkararungroj; ปภาดา ราญรอน; Papada Ranron; เบญจมพร เอี่ยมสกุล; Benjamaporn Eiamsakul; ปิยดา แก้วเขียว; Piyada Gaewkhiew; ขวัญพุทธา อรุณประเสริฐ; Kwanputtha Arunprasert; เฌอริลิณญ์ ประทุมสุวรรณ์; Sherilyn Pratumsuwan; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; จันทัปปภา จันทร์ครบ; Jantappapa Chanthercrob; ปัญญ์ชนก หมื่นแก้ว; Panchanok Muenkaew; Dabak, Saudamini Vishwanath; Chavarina, Kinanti Khansa; Huang-Ku, Evan; Tun, Yin May; Win, Zin Nwe (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10-14)
    ภูมิหลัง ในปี พ.ศ. 2566 มูลนิธิเพื่อการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP Foundation) ได้ดำเนินการศึกษาในหัวข้อ “การจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อสนับสนุนการพัฒนาแนวปฏิบัติและแนวทางการติดตามประเมินผลของระบบการแพทย์ทางไกล ...
  • การพัฒนาระบบฐานข้อมูลการตรวจคัดกรองการได้ยินเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตรวจวินิจฉัย รักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพตั้งแต่แรกเริ่มในทารกแรกเกิด 

    พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; Panida Thanawirattananit; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; นิชธิมา ฉายะโอภาส; Nichtima Chayaopas; พรเทพ เกษมศิริ; Pornthep Kasemsiri; ภาธร ภิรมย์ไชย; Patorn Piromchai; วันดี ไข่มุกด์; Wandee Khaimook; รมิดา ดินดำรงกุล; Ramida Dindamrongkul; สุวิชา แก้วศิริ; Suwicha Kaewsiri; ศณัฐธร เชาวน์ศิลป์; Sanathorn Chowsilpa; วิชัย ฉัตรทินวัฒน์; Wichai Chattinnawat; ชินวัตร อิศราดิสัยกุล; Chinawat Isradisaikul; นันณะภา อาจหาญ; Nunnapa Arthan; อรพิชญ์ อินทรัตน์; Orapit Intarat; วลีรัตน์ ทาทะวงค์; Waleerat Thathawong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)
    ประเทศไทยได้มีนโยบายในการเพิ่มสิทธิประโยชน์ในหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สำหรับการตรวจคัดกรองการได้ยินในทารกแรกเกิดทุกราย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2565 เพื่อมุ่งหวังในการค้นหาเด็กที่มีความพิการทางการได้ยินตั้งแต่อายุยังน้อย ...
  • การประเมินระบบเฝ้าระวังโรคที่เกิดจากฝุ่นละออง PM2.5 สำหรับเขตสุขภาพที่ 8 (กรณีศึกษานำร่องจังหวัดหนองคาย และนครพนม) 

    สุทัศน์ โชตนะพันธ์; Suthat Chottanapund; เกวลี สุนทรมน; Kaewalee Soontornmon; ภัสราภรณ์ นาสา; Patsaraporn Nasa; ธัชริทธิ์ ใจผูก; Thachcharit Jaiphook; จริยา ดำรงศักดิ์; Chariya Damrongsak; จันจิรา ชินศรี; Chanjira Chinsri; พรรณวรท ภูเวียง; Phanwarot Phoweang; แสนสุข เจริญกุล; Sansuk Charoenkun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)
    ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหามลพิษทางอากาศจาก PM2.5 ที่เกินมาตรฐานทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตสุขภาพที่ 8 (จังหวัดนครพนม และจังหวัดหนองคาย) ที่ได้รับผลกระทบอย่างมาก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระบบเฝ้าระวัง PM2.5 ...
  • ฐานข้อมูลภูมิทัศน์จีโนมของมะเร็งลำไส้ใหญ่ชาวไทยเพื่อการแพทย์แม่นยำ 

    วิทูร ชินสว่างวัฒนกุล; Vitoon Chinswangwatanakul; มานพ พิทักษ์ภากร; Manop Pithukpakorn; ศิษเฎศ ทองสิมา; Sissades Tongsima; ชนพ ช่วงโชติ; Shanop Shuangshoti; ปริยดา ตั๋นจักร; Pariyada Tanjak; อำพรรณ ไชยบุญชู; Amphun Chaiboonchoe; ปวีณา อุปนันต์; Paweena Uppanan; พชรพรรณ สนธิไทย; Pacharapan Sonthithai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)
    ปัจจุบันเทคโนโลยีการศึกษาการแสดงออกของยีนสามารถแบ่งมะเร็งลำไส้ออกเป็นรูปแบบต่าง ๆ (consensus molecular subtypes, CMS) ซึ่งเป็นแนวทางในการศึกษากลไกการเปลี่ยนแปลงมะเร็งลำไส้ รวมถึงการมุ่งเน้นเพื่อการรักษาโดยเฉพาะ ...

ดูทั้งหมด