Now showing items 2432-2451 of 5714

    • การหารูปแบบที่เหมาะสมในการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรค จังหวัดพิษณุโลก 

      บุญเลิศ ลิ้มทองกุล; Boonlert Limthongkul; ปรีดา แต้อารักษ์; กาญจนา แสงรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      Appropriate model of disease prevention and control, Phitsanulok ProvinceThis is an action research. The goal of this research is to develop more effective model of disease prevention and control. The objectives are to ...
    • การหาแนวทางพัฒนารูปแบบการบริการสาธารณสุขของโรงพยาบาลสิรินธร : กรณีศึกษาชุมชนริมเขื่อน 

      วิยะดา ฆารวิพัฒน์; Wiyada Karwipat; อัญชลี แสนอ้วน; นาฏนภา สมโสภา; ธนาวุฒิ พรมดี; รัศมีแข ยิ่งอำนวยชัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การหาแนวทางพัฒนารูปแบบการบริการสาธารณสุขของโรงพยาบาลสิรินธร : กรณีศึกษาชุมชนริมเขื่อน การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการศึกษาชุมชนแบบการประเมินสภาวะชนบทแบบเร่งด่วน(Rapid Rural Appraisal-RRA) มีวัตถุประสงค ...
    • การอบรมจริยธรรม เรียนรู้ร่วมกัน สร้างพลังสู่สังคม ครั้งที่ 6 

      มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะวิจิตรศิลป์ (คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2554)
      ทางมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ประยุกต์ใช้แนวคิดอาสาสมัครเพื่อสังคม จัดเป็นค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการในโครงการอบรมจริยธรรม “เรียนรู้ร่วมกัน สร้างพลังสู่สังคม” ซึ่งเป็นโครงการหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้แก่นัก ...
    • การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนานักวิเคราะห์การเงินการคลังของโรงพยาบาล (Hospital Financial Analysts, HFA) ปี 2552 

      สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2552-08)
      วัตถุประสงค์ (1) เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และทักษะเกี่ยวกับแนวคิดหลักการ วิธีการวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มการเงินการคลังของโรงพยาบาลในประเด็นต่างๆ การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง ภาวะคุกคาม และโอกาสในการพัฒนา เพื่อนำไปสู่กา ...
    • การอภิบาลบทบาทการซื้อบริการในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าไทย 

      บัลลังก์ อุปพงษ์; Ballang Uppapong; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้เพื่อประเมินการอภิบาลและการจัดการสำหรับซื้อบริการสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพโดยการทบทวนวรรณกรรมและเอกสารที่เกี่ยวข้อง การรับฟังบรรยายสรุปจากเจ้า ...
    • การอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย หลังการประกาศใช้ พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550: กรอบแนวคิด พัฒนาการ และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา 

      วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมและการปฏิรูปโครงสร้างระบบสุขภาพในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ได้สร้างความท้าทายใหม่ๆ ในการอภิบาลระบบสุขภาพของประเทศไทย ภายหลังการตั้งสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ในปี พ.ศ.2535 มีการจัดตั้ ...
    • การอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย หลังการประกาศใช้ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 : กรอบแนวคิด พัฒนาการและข้อเสนอเพื่อการพัฒนา 

      วิรุฬ ลิ้มสวาท (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การเกิดขึ้นของพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของประวัติศาสตร์ระบบสุขภาพไทย การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือการกำหนดนิยามใหม่ให้กับคำว่า “สุขภาพ” ที่ขยายอาณาบริเวณของ “ระบบสุขภาพ” ออกไปพ้นจากการแพทย์และ ...
    • การอภิบาลระบบแบบเครือข่าย 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-10)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ...
    • การออกแบบการจ้างงานและสิทธิประโยชน์รูปแบบใหม่ที่ตอบสนองต่อความต้องการในอนาคตเพื่อสร้างแรงจูงใจของกำลังคนสุขภาพภาครัฐ 

      เมษ์ ศรีพัฒนาสกุล; May Sripatanaskul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      งานวิจัยเรื่องการออกแบบการจ้างงานและสิทธิประโยชน์รูปแบบใหม่ที่ตอบสนองต่อความต้องการในอนาคต เพื่อสร้างแรงจูงใจของกำลังคนสุขภาพภาครัฐ เป็นงานวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทางเลือกรูปแบบการจ้างงานและสิทธิประโยชน์ใหม่ๆ ...
    • การออกแบบที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เอื้อกับคนพิการและผู้สูงอายุ 

      เมธี พิริยกานนท์; ศิรินาถ ตงศิริ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ, 2555-08)
      คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง และนฤมิตศิลป์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ดำเนินการศึกษาวิจัยโครงการสนับสนุนการออกแบบที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เอื้อกับคนพิการและผู้สูงอายุ โดยมีพื้นที่ต้นแบบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ...
    • การออกแบบระบบบริการด้านยาและเวชภัณฑ์สำหรับผู้ป่วยมารับยาที่ร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1 ในพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 

      สิริรัตน์ สุวัชรชัยติวงศ์; Sirirat Suwatcharachaitiwong; นิกร ศิริวงศ์ไพศาล; Nikorn Sirivongpaisal; ปราณภา หังสพฤกษ์; Prannapa Hungsaphruek (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)
      โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบระบบบริการด้านยาสำหรับโครงการผู้ป่วยรับยาที่ร้านยาใกล้บ้านตามรูปแบบที่ 3 ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในโครงการช่วยลดความแออัดในโรงพยาบาล โดยมุ่งเน้ ...
    • การออกแบบระบบบริการสุขภาพในหน่วยบริการปฐมภูมิภายใต้สถานการณ์ Covid-19 : กรณีศึกษาพื้นที่อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี 

      มูหาหมัดอาลี กระโด; Muhamadalee Krado; รอซาลี สีเดะ; Rozalee Saredea; วรรณี ปาทาน; Wannee Patan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)
      โครงการวิจัยการออกแบบระบบบริการสุขภาพในหน่วยบริการปฐมภูมิภายใต้สถานการณ์ Covid-19 : กรณีศึกษาพื้นที่อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี มีความมุ่งหวังให้บุคลากรเห็นความสำคัญของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิและสามารถปรับวิธีการทำงาน ...
    • การออกแบบระบบบริการเภสัชกรรมทางไกลในยุคปกติวิถีใหม่ของโรงพยาบาลและร้านยาในเขตสุขภาพที่ 7 

      สุณี เลิศสินอุดม; Sunee Lertsinudom; สินีนาฏ มุ่งมานิตย์มงคล; Sineenard Mungmanitmongkol; ศิวพร ประเสริฐสุข; Siwapond Prasertsuk; กาญจนาภรณ์ ตาราไต; Kanjanaporn Taratai; ศิริน เพ็ญภินันท์; Sirin Phenphinan; สุภิญญา ตันตาปกุล; Supinya Tuntapakul; เพียงขวัญ ศรีมงคล; Piengkwan Srimongkol; เผ่าพงศ์ เหลืองรัตนา; Paopong Loungrattana; วัชระ ตันศิริ; Watchara Tansiri; ทรัพย์พานิช พลาบัญช์; Suppanich Palabun; เพ็ญทิพา แก้วเกตุทอง; Pentipa Kaewketthong; นิสรา ศรีสุระ; Nissara Srisura; วีรวรรณ รุจิจนากุล; Weerawan Rujijanakul; แฉล้ม รัตนพันธุ์; Chalaem Rattanapan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      การบริการเภสัชกรรมทางไกล (telepharmacy) เป็นอีกหนึ่งระบบบริการที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพของระบบบริการสุขภาพภายใต้สถานการณ์ที่มีโรคระบาดโควิด-19 อีกทั้งยังสามารถสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลด้านสาธารณสุขและเกิดเป็นรูปแบบการบริการท ...
    • การออกแบบระบบและกลไกในการขับเคลื่อนเขตสุขภาพที่ 6 

      รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง; Rapeesupa Wangcharoenrung; ดาวุด ยูนุช; Dawud U-nuch; ผาณิต ชัยรุ่งโรจน์ปัญญา; Phanit Chairungrojpanya; ต้องการ จิตเลิศขจร; Tongkarn Jitlerdkajorn; สุทธิ สืบศิริวิริยะกุล; Sutthi Suebsiriviriyakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      ในช่วงที่ผ่านมาของการขับเคลื่อนให้เกิดเขตสุขภาพนั้น กระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินการสนับสนุนการพัฒนาเขตสุขภาพอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม การดำเนินการที่ผ่านมามีความไม่คล่องตัวในทางปฏิบัติหลายประการที่ทำให้การดำเนินการตามข้อเ ...
    • การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา 

      สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ; Society and Health Institute (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ (สวสส.), 2557-10)
      งานวิจัยโครงการการออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา (Healthcare Healing Environment Design) มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ทำการสำรวจสภาพปัญหาของการจัดสิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาล (2) ออกแบบเครื่องมือประเมินสิ่งแวดล้ ...
    • การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา ปีที่ 2 

      โกศล จึงเสถียรทรัพย์; พุทธชาติ แผนสมบุญ; ธนวรรณ สาระรัมย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      โครงการวิจัย “การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา (Healthcare Healing Environment Design) ปีที่ 2” ได้เน้นให้โรงพยาบาลที่เข้าโครงการฯ จำนวน 17 แห่ง นำเครื่องมือประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยาไปใช ...
    • การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา ปีที่ 3 

      โกศล จึงเสถียรทรัพย์; Kosol Chungsatiansup; พุทธชาติ แผนสมบุญ; Phutthachat Phaensomboon; ธนวรรณ สาระรัมย์; Thanawan Sararum; นิรัชรา ลิลละฮ์กุล; Niratchara Lillahkul; หทัยกร กิตติมานนท์; Hataikorn Kittimanont (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      โครงการวิจัยเรื่องการออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสำรวจสภาพของสิ่งแวดล้อมและศึกษารูปแบบการออกแบบโครงสร้าง/ภูมิสถาปัตยกรรมที่ส่งเสริมคุณภาพและความปลอดภัยของผู้รับบริการ ...
    • การออกแบบหลักสูตรออนไลน์เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการวินิจฉัยโรคติดเชื้อพิธิโอซิสในหลอดเลือด 

      ปัทมา ต.วรพานิช; Pattama Torvorapanit; สุรชัย เล็กสุวรรณกุล; Surachai Leksuwankun; อริยา จินดามพร; Ariya Chindamporn; นวพร วรศิลป์ชัย; Navaporn Worasilchai; รองพงศ์ โพล้งละ; Rongpong Plongla; กษมา มโนธรรมเมธา; Kasama Manothummetha; ณัฐพงศ์ เหล็งศิริ; Nattapong Langsiri; กษิดิศ ป้องขันธ์; Kasidis Phongkhun; นิติพงศ์ เพิ่มพลัง; Nitipong Permpalung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      โรคติดเชื้อพิธิโอซิส เกิดจากการติดเชื้อ Pythium Insidiosum ซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคในกลุ่มที่คล้ายเชื้อราแต่ไม่ใช่เชื้อรา จัดอยู่ในกลุ่มใกล้เคียงกับไดอะตอม Pythium spp. ถูกค้นพบเป็นการติดเชื้อในพืชมาก่อน ต่อมามีรายงานการติดเชื้อในสัตว์ ...
    • การออกแบบอุปกรณ์เสริมสำหรับเท้าและการผลิตอุปกรณ์ซิลิโคนพิมพ์แบบสามมิติสำหรับรักษาภาวะเท้าแบนและนิ้วหัวแม่เท้าเอียง 

      สิริพร โตนดแก้ว; Siriporn Tanodekaew; สมฤทัย ชรรณษานนท์; Somruethai Channasanon; ภาสกร เทศะวิบุล; Passakorn Tesavibul; ศิรัญญา แพเจริญ; Siranya Paecharoen; กานต์ งามโสภาสิริสกุล; Kan Ngamsopasirisakul; ณญาดา ชูสวัสดิ์; Nayada Choosawad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      โครงการนี้เป็นการนำเทคโนโลยีการพิมพ์แบบสามมิติมาผลิตอุปกรณ์ซิลิโคนเสริมสำหรับเท้าแบบเฉพาะราย สำหรับผู้ที่มีโครงสร้างเท้าผิดปกติที่พบได้บ่อยทางคลินิก คือ ภาวะเท้าแบนและภาวะนิ้วหัวแม่เท้าเอียง เพื่อใช้รักษาและบรรเทาอาการเจ็บที่เท้า ...
    • การออกแบบและพัฒนาข้อเข่าเทียมเชิงพาณิชย์เพื่อคนไทย 

      สุขเกษม วัชรมัยสกุล; Sukasem Watcharamiasakul; สุภกิจ รูปขันธ์; Supakit Rooppakhun; รัตน บริสุทธิกุล; Rattana Borrisutthekul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-04)
      เป้าหมายการศึกษาในครั้งนี้ คือ การได้ต้นแบบข้อเข่าเทียมบนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดและรูปทรงที่เหมาะสมกับกายวิภาคข้อเข่าของคนไทย โดยมีโครงการวิจัยย่อย 2 โครงการ ดังนี้ 1) การออกแบบข้อเข่าเทียมจากข้อมูลกายวิภาคของคนไทยด ...